ท่องเที่ยว || เพิ่มข้อมูลสถานที่ท่องเที่ยว|| ดูดวงตำราไทย|| อ่านบทละคร|| เกมส์คลายเครียด|| วิทยุออนไลน์ || ดูทีวี|| ท็อปเชียงใหม่ || รถตู้เชียงใหม่
  dooasia : ดูเอเซีย   รวมเว็บ   บอร์ด     เรื่องน่ารู้ของสยาม   สิ่งน่าสนใจ  
 
สำหรับนักท่องเที่ยว
ตรวจสอบระยะทาง
แผนที่ 77 จังหวัด
คู่มือ 77 จังหวัด(PDF)
จองโรงแรม
ข้อมูลโรงแรม
เส้นทางท่องเที่ยว(PDF)
ข้อมูลวีซ่า
จองตั๋วเครื่องบิน
จองตั๋วรถทัวร์
ทัวร์ต่างประเทศ
รถเช่า
197 ประเทศทั่วโลก
แลกเปลี่ยนเงินสากล
ซื้อหนังสือท่องเทียว
dooasia.com แนะนำ
  เที่ยวหลากสไตล์
  มหัศจรรย์ไทยเแลนด์
  เส้นทางความสุข
  ขับรถเที่ยวตลอน
  เที่ยวทั่วไทย 77 จังหวัด
  อุทยานแห่งชาติในไทย
  วันหยุดวันสำคัญไทย-เทศ
  ศิลปะแม่ไม้มวยไทย
  ไก่ชนไทย
  พระเครื่องเมืองไทย
 
 
ข้อมูลท่องเที่ยวประเทศเกาหลี
ข้อมูลท่องเที่ยวประเทศลาว
ข้อมูลท่องเที่ยวประเทศกัมพูชา
ข้อมูลท่องเที่ยวประเทศเวียดนาม
ข้อมูลท่องเที่ยวประเทศพม่า
ข้อมูลท่องเที่ยวประเทศจีน
 
เที่ยวภาคเหนือ กำแพงเพชร : เชียงราย : เชียงใหม่ : ตาก : นครสวรรค์ : น่าน : พะเยา : พิจิตร : พิษณุโลก : เพชรบูรณ์ : แพร่ : แม่ฮ่องสอน : ลำปาง : ลำพูน : สุโขทัย : อุตรดิตถ์ : อุทัยธานี
  เที่ยวภาคอีสาน กาฬสินธุ์ : ขอนแก่น : ชัยภูมิ : นครพนม : นครราชสีมา(โคราช): บุรีรัมย์ : มหาสารคาม : มุกดาหาร : ยโสธร : ร้อยเอ็ด : เลย : ศรีสะเกษ : สกลนคร : สุรินทร์ : หนองคาย : หนองบัวลำภู : อำนาจเจริญ : อุดรธานี : อุบลราชธานี : บึงกาฬ(จังหวัดที่ 77)
  เที่ยวภาคกลาง กรุงเทพฯ : กาญจนบุรี : ฉะเชิงเทรา : ชัยนาท : นครนายก : นครปฐม : นนทบุรี : ปทุมธานี : ประจวบคีรีขันธ์ : ปราจีนบุรี : พระนครศรีอยุธยา : เพชรบุรี : ราชบุรี : ลพบุรี : สมุทรปราการ : สมุทรสาคร : สมุทรสงคราม : สระแก้ว : สระบุรี : สิงห์บุรี : สุพรรณบุรี : อ่างทอง
  เที่ยวภาคตะวันออก จันทบุรี : ชลบุรี : ตราด : ระยอง

  เที่ยวภาคใต้ กระบี่ : ชุมพร : ตรัง : นครศรีธรรมราช : นราธิวาส : ปัตตานี : พัทลุง : พังงา : ภูเก็ต : ยะลา : ระนอง : สงขลา : สตูล : สุราษฎร์ธานี

www.dooasia.com > จังหวัดอยุธยา >ศูนย์ส่งเสริมศิลปาชีพระหว่างประเทศ / The Support Arts and Crafts International Centre of Thailand (Public Organization)

ศูนย์ส่งเสริมศิลปาชีพระหว่างประเทศ / The Support Arts and Crafts International Centre of Thailand 

 
ข้อมูลจากเว็บไซต์ของ
ศูนย์ส่งเสริมศิลปาชีพระหว่างประเทศ http://www.sacict.net   
ความเป็นมา

ศูนย์ศิลปาชีพบางไทรฯ ซึ่งเป็นหน่วยงานหนึ่งของมูลนิธิส่งเสริมศิลปาชีพในสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์พระบรมราชินีนาถ ได้กราบบังคมทูลพระกรุณาขอพระราชทานพระบรมราชานุญาตจากพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวและสมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินีนาถเพื่อดำเนินการจัดตั้งศูนย์ส่งเสริมศิลปาชีพระหว่างประเทศขึ้นเมื่อปี 2538 และได้กราบบังคมทูลถวายรายงานความก้าวหน้าในการจัดตั้งมาเป็นลำดับ โดยเป็นโครงการที่จะช่วยให้ชาวไร่ชาวนาทั่วราชอาณาจักรมีงานศิลปาชีพทำและสามารถจำหน่ายผลงานของตนได้และนำมาซึ่งรายได้เสริมเป็นอย่างดี เป็นโครงการที่จะเผยแพร่ศิลปวัฒนธรรมไทยทั้งภายในประเทศและในนานาประเทศ อีกทั้งจะเสริมสร้างความมั่นคงทางเศรษฐกิจในประเทศด้วย พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯ ได้ทรงลงพระปรมาภิไธยในพระราชกฤษฎีกาจัดตั้งศูนย์ส่งเสริมศิลปาชีพระหว่างประเทศ (องค์การมหาชน) พ.ศ.2546 เมื่อวันที่ 31 ตุลาคม 2546 และประกาศในราชกิจจานุเบกษาเมื่อ วันที่ 1 พฤศจิกายน 2546 โดยให้เป็นองค์การมหาชน ซึ่งเป็นนิติบุคคลรูปแบบใหม่ ตามกฎหมายว่าด้วยองค์การมหาชนภายใต้การกำกับดูแลของกระทรวงพาณิชย์ มีชื่อย่อว่า ศ.ศ.ป. และชื่อภาษาอังกฤษว่า The Support Arts and Crafts International Centre of Thailand (Public Organization) หรือ SACICT (อ่านพ้องเสียงกับคำว่า “ศักดิ์สิทธิ์” ในภาษาไทย) สำหรับค่าใช้จ่ายในการดำเนินงานทั้งหมดได้มาจากเงินสนับสนุนจากรัฐบาลโดยเป็นองค์การมหาชนที่มิได้มุ่งหวังผลกำไร โดยร่วมมือกัน 3 ฝ่ายคือ ภาครัฐ ภาคเอกชน (โดยสภาหอการค้าแห่งประเทศไทย และสภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย) และศูนย์ศิลปาชีพบางไทรในสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์พระบรมราชินีนาถ

วัตถุประสงค์ในการจัดตั้ง

เพื่อเทิดพระเกียรติสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ เนื่องในวโรกาสเฉลิมพระชนมายุครบ 6 รอบ วันที่ 12 สิงหาคม 2547

วิสัยทัศน์

ศูนย์ส่งเสริมศิลปาชีพระหว่างประเทศ หรือ ศ.ศ.ป. เป็นองค์กรที่มุ่งสู่ความเป็นเลิศในการจัดการ การผลิตและการตลาด และเป็นองค์กรหลักในการพัฒนาเครือข่ายความร่วมมือด้านการผลิตและการตลาด ในระดับชาติและระดับสากลเพื่อผลักดันให ้ผลิตภัณฑ์ศิลปหัตถกรรมพื้นบ้านเป็นที่นิยมแพร่หลายทั้งในและต่างประเทศ





ขนาดและที่ตั้ง

ศูนย์ศิลปาชีพระหว่างประเทศ (ศ.ศ.ป.) ตั้งอยู่บนฝั่งซ้ายของแม่น้ำเจ้าพระยา ตำบลช้างใหญ่ อำเภอบางไทร ติดกับพื้นที่ของศูนย์ศิลปาชีพบางไทร จังหวัดพระนครศรีอยุธยา บนเนื้อที่ 45 ไร่ 3 งาน ประกอบด้วย 2 อาคารหลักคืออาคารใหญ่ 4 ชั้น ซึ่งเป็นอาคารแสดงสินค้าศิลปะหัตถอุตสาหกรรมเพื่อการส่งออก พื้นที่ 34,340 ตารางเมตร และอาคารเล็กมีชื่อว่า อาคารตลาดศิลปาชีพบางไทร พื้นที่ 7,000 ตารางเมตร เริ่มก่อสร้างในปี 2542 และก่อสร้างแล้วเสร็จในเดือนกรกฎาคม 2547 รวมมูลค่าก่อสร้างอาคาร 632.7 ล้านบาท และมูลค่าตกแต่งอีก 259 ล้านบาท กระทรวงพาณิชย์ได้น้อมเกล้าถวายศูนย์ส่งเสริมศิลปาชีพระหว่างประเทศเพื่อเป็นการเทิดพระเกียรติสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ โดยมีการจัดงาน“ศูนย์ส่งเสริมศิลปาชีพระหว่างประเทศ ถวายราชสดุดี 72 พรรษา มหาราชินีศรีสยาม”เมื่อวันที่ 6-8 สิงหาคม 2547


บทบาทหน้าที่ความรับผิดชอบ

1. ดำเนินการบริหารจัดการให้มีการประกวดหรือจำหน่ายสินค้าศิลปหัตถกรรมพื้นบ้าน
2. พัฒนาผลิตภัณฑ์ศิลปหัตถกรรมพื้นบ้านทั้งในด้านคุณภาพมาตรฐานรวมทั้งส่งเสริมภาพลักษณ์การพัฒนารูปแบบของผลิตภัณฑ์และการบรรจุภัณฑ์
3. ดำเนินการส่งเสริมสนับสนุนด้านการตลาดและการขยายตลาดทั้งในและต่างประเทศ
4. ส่งเสริมความเชื่อมโยงและสนับสนุนระหว่างอุตสาหกรรมการผลิตการจำหน่ายผลิตภัณฑ์ศิลปหัตถกรรมพื้นบ้านตลอดจนผสมผสาน หรือประยุกต์เทคโนโลยีที่ทันสมัยกับภูมิปัญญาท้องถิ่น
5. พัฒนาฝึกอบรมการบริหารจัดการผลิตและการบริหารงานบุคคล การเงินและการตลาด
6. ดำเนินการสนับสนุนด้านลิขสิทธิ์ สิทธิบัตร และทรัพย์สินทางปัญญาอื่นๆ

 แผนที่ศูนย์ส่งเสริมศิลปาชีพระหว่างประเทศ และแฟนที่ศูนย์ศิลปาชีพบงไทร

Data from  http://www.sacict.net   

 
รูปภาพถ่ายสถานที่ท่องเที่ยศูนย์ส่งเสริมศิลปาชีพระหว่างประเทศ

เน„เธกเนˆเธžเธšเธซเธ™เน‰เธฒ | เธ”เธนเน€เธญเน€เธ‹เธตเธข เธ—เนˆเธญเธ‡เน€เธ—เธตเนˆเธขเธงเน„เธ—เธข

เน‚เธญเนŠเธฐเน‚เธญโ€ฆ เธ‚เน‰เธญเธœเธดเธ”เธžเธฅเธฒเธ” 404
เธ‚เธญเธญเธ เธฑเธข, เนเธ•เนˆเธซเธ™เน‰เธฒเธ—เธตเนˆเธ„เธธเธ“เธเธณเธฅเธฑเธ‡เธกเธญเธ‡เธซเธฒเธ™เธฑเน‰เธ™เน„เธกเนˆเธกเธตเธญเธขเธนเนˆ
เธ„เธธเธ“เธชเธฒเธกเธฒเธฃเธ–เน„เธ›เธ—เธตเนˆ เธซเธ™เน‰เธฒเนเธฃเธ

เน‚เธžเธชเธ•เนŒเธฅเนˆเธฒเธชเธธเธ”เธ‚เธญเธ‡เน€เธฃเธฒ

"โครงการอวดภาพไทยไปทั่วโลก || เราทำเว็บเพื่อสนับสนุนท่องเที่ยวไทยอวดเมืองไทยไปทั่วโลก"

ภาพที่ต้องการส่ง ภาพที่ 1
ภาพที่ต้องการส่ง ภาพที่ 2
ภาพที่ต้องการส่ง ภาพที่ 3
ภาพที่ต้องการส่ง ภาพที่ 4
ภาพที่ต้องการส่ง ภาพที่ 5
คำอธิบายภาพและสถานที่ 
(เราจะลงไว้ใต้ภาพ)

 
อยุธยา/Information of  The Support Arts and Crafts International Centre of Thailand (SACICT)

  
Background

Realizing the need to expand the market and develop recognition for the Thai folk arts and crafts, the Bangsai Arts and Crafts Training Centre, which is attached to the SUPPORT Foundation of Queen Sirikit of Thailand asked for Their Majesties’ permission to establish the SUPPORT Arts and Crafts International Centre of Thailand in 1995 and has reported its construction progress to Their Majesties continually until its completion in 2004. Its mission is mainly to help provide ways and means to farming families all over the country to obtain supplementary income by producing elaborately made handicrafts and at the same time, to publicize the Thai cultural handiwork both locally and internationally. Such attempts are expected to be conducive to a secure national economic development in the future. His Majesty the King graciously issued the royal decree for the establishment of the Support Arts and Crafts International Centre of Thailand on October 31, 2003 and this was announced in the government gazette on November 1 of the same year. This newly constructed international centre will be managed as an autonomous public organization, a new type of juristic entity complying to the law on autonomous public organizations. The centre will be run under the supervision of the Ministry of Commerce. It will be called “SACICT“ for short according to its initial and will be subsidized by the government as a nonprofit-making organization requiring joint co-operation from the government sector, the private sector (by the Council of the Chamber of Commerce and the Council of Industry of Thailand) and the Bangsai Arts and Crafts Training Centre of Queen Sirikit of Thailand.

Objective

SACICT is established to celebrate Her Majesty the Queen’s 72nd birthday anniversary on August 12, 2004 to show gratitude to Her sincere effort in promoting Her people’s quality of life and to extend assistance towards the promotion and betterment of Thai folk arts and crafts for export.

Vision

SACICT aims for excellence in the management, production and marketing of Thai handicrafts and also aims to be the main key in the development of the network of co-operation in production and marketing efforts so as to propel Thai arts and crafts products towards local and international recognition.





Size and Location

SACICT is located on the left bank of the Chao Phya River at Chang-Yai Subdistrict, Bangsai District, Ayutthaya Province. It is adjacent to the Bangsai Arts and Crafts Training Centre. Its area covers 45 rais 3 ngans, consisting of two main buildings which are the main four-storied building with an area of 34,340 square metres serving as the building for the display of arts and crafts products for export, and the smaller building housing the arts and crafts market measuring 7,000 square metres. The construction started in 1999 and finished in July 2004, costing 632.7 million baht for construction and another 259 million baht for decoration. The Ministry of Commerce dedicated the SUPPORT Arts and Crafts International Centre of Thailand to Her Majesty Queen Sirikit and organized a festive celebration entitled “SACICT Honouring Her Majesty Queen Sirikit, The Great Queen of Thailand, on Her Seventy-second Birthday Anniversary“ from August 6-8 , 2004.


Main Responsibilities

1. To organize the contests and sale of local arts and crafts products
2. To develop and promote local arts and crafts products in terms of quality standards as well as the images and designs of such products and their packaging
3. To promote and support their marketing activities and the expansion of their local and international markets
4. To build up the network of support among different industries in terms of production and sale of local arts and crafts products, and to apply modern technology to techniques initiated through local wisdom or blend them together
5. To develop training plans in terms of production , personnel and marketing management
6. To provide support to and encourage the observance of the intellectual property rights of all types


 
เชิญแนะนำการเดินทาง ที่พัก ร้านอาหาร สถานที่ท่องเที่ยว ความประทับใจ
เน„เธกเนˆเธžเธšเธซเธ™เน‰เธฒ | เธ”เธนเน€เธญเน€เธ‹เธตเธข เธ—เนˆเธญเธ‡เน€เธ—เธตเนˆเธขเธงเน„เธ—เธข
เน‚เธญเนŠเธฐเน‚เธญโ€ฆ เธ‚เน‰เธญเธœเธดเธ”เธžเธฅเธฒเธ” 404
เธ‚เธญเธญเธ เธฑเธข, เนเธ•เนˆเธซเธ™เน‰เธฒเธ—เธตเนˆเธ„เธธเธ“เธเธณเธฅเธฑเธ‡เธกเธญเธ‡เธซเธฒเธ™เธฑเน‰เธ™เน„เธกเนˆเธกเธตเธญเธขเธนเนˆ
เธ„เธธเธ“เธชเธฒเธกเธฒเธฃเธ–เน„เธ›เธ—เธตเนˆ เธซเธ™เน‰เธฒเนเธฃเธ

เน‚เธžเธชเธ•เนŒเธฅเนˆเธฒเธชเธธเธ”เธ‚เธญเธ‡เน€เธฃเธฒ

เชิญแนะนำการเดินทาง ที่พัก ร้านอาหาร สถานที่ท่องเที่ยว ความประทับใจ

ชื่อ / Email
ข้อความ
  

อยุธยา โรงแรมในอยุธยา ที่พักในอยุธยา ร้านอาหารในอยุธยา แผนที่จังหวัดอยุธยา สถานที่ท่องเที่ยงอยุธยา แผนที่อยุธยา บ้านอยุธยา จังหวัดอยุธยา เที่ยวอยุธยา ล่องเรืออยุธยา ทัวร์อยุธยา สถานที่ท่องเที่ยวอยุธยา ท่องเที่ยวอยุธยา เพนียดช้าง อยุธยา



ล่องเรือชมมรดกโลก
Boat trip to the World Heritage



เที่ยววังบางปะอิน

Bang Pa-In Palace

อำเภอนครหลวง
อำเภอบางปะอิน
อำเภอบางไทร
อำเภอพระนครศรีอยุธยา


วัดหน้าพระเมรุ
Wat Na Phra Men
(อยุธยา)
การเดินทาง
รถยนต์
จากกรุงเทพฯ สามารถเดินทางไปจังหวัดพระนครศรีอยุธยา ได้หลายเส้นทางดังนี้
1. ใช้ทางหลวงหมายเลข 1 (ถนนพหลโยธิน) ผ่านประตูน้ำพระอินทร์ แล้วแยกเข้าทางหลวงหมายเลข 32 เลี้ยวซ้ายไปตามทางหลวงหมายเลข 309 เข้าสู่จังหวัดพระนครศรีอยุธยา
2. ใช้ทางหลวงหมายเลข 304 (ถนนแจ้งวัฒนะ) หรือทางหลวงหมายเลข 302 (ถนนงามวงศ์วาน) เลี้ยวขวาเข้าทางหลวงหมายเลข 306 (ถนนติวานนท์) แล้วข้ามสะพานนนทบุรีหรือสะพานนวลฉวี ไปยังจังหวัดปทุมธานีต่อด้วยเส้นทาง ปทุมธานี-สามโคก-เสนา (ทางหลวงหมายเลข 3111) เลี้ยวแยกขวาที่อำเภอเสนา เข้าสู่ทางหลวงหมายเลข 3263 เข้าสู่จังหวัดพระนครศรีอยุธยา
3. ใช้เส้นทางกรุงเทพฯ-นนทบุรี-ปทุมธานี ทางหลวงหมายเลข 306 ถึงทางแยกสะพานปทุมธานี เลี้ยวเข้าสู่ทางหลวงหมายเลข 347 แล้วไปแยกเข้าทางหลวงหมายเลข 3309 ผ่านศูนย์ศิลปาชีพบางไทร อำเภอบางปะอิน เข้าสู่จังหวัดพระนครศรีอยุธยา 

รถไฟ
การเดินทางไปจังหวัดพระนครศรีอยุธยาสามารถใช้บริการรถไฟโดยสารที่มีปลายทางสู่ภาคเหนือและภาคตะวันออกเฉียงเหนือซึ่งมีบริการทุกวัน ขบวนรถไฟจะผ่านจังหวัดพระนครศรีอยุธยาในเขตอำเภอบางปะอิน อำเภอพระนครศรีอยุธยา และอำเภอภาชี แล้วรถไฟจะแยกไปภาคเหนือและภาคตะวันออกเฉียงเหนือที่สถานีชุมทางบ้านภาชี นอกจากนี้การรถไฟฯ ยังจัดขบวนรถจักรไอน้ำเดินทางระหว่างกรุงเทพฯ-พระนครศรีอยุธยาในโอกาสพิเศษ ปีละ 3 ขบวน คือ วันที่ 26 มีนาคม (วันสถาปนาการรถไฟฯและเป็นวันที่ระลึกถึงการเปิดทางรถไฟสายแรกวิ่งระหว่างกรุงเทพฯ-นครราชสีมา ในปี พ.ศ. 2433) วันที่ 23 ตุลาคม (วันปิยมหาราช เพื่อรำลึกถึงพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ผู้ทรงให้กำเนิดกิจการรถไฟไทย) และวันที่ 5 ธันวาคม (วันเฉลิมพระชนมพรรษาพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช) สอบรายเพิ่มเติมได้ที่ การรถไฟแห่งประเทศไทย โทร. 0 2220 4334, 0 2220 4444, 0 2223 7010, 0 2223 7020, 1690 หรือที่เว็บไซต์ www.railway.co.th 

ทางเรือ 
การเดินทางไปจังหวัดพระนครศรีอยุธยาโดยทางน้ำเป็นที่นิยมของชาวต่างประเทศ เพราะนอกจากจะได้ชมทัศนียภาพและชีวิตความเป็นอยู่ของประชาชนริมสองฝั่งแม่น้ำเจ้าพระยาแล้ว ยังเป็นการย้อนให้เห็นถึงประวัติศาสตร์สมัยที่กรุงศรีอยุธยาเป็นราชธานี และมีการติดต่อค้าขายกับชาวต่างชาติทางเรือบนสายน้ำเจ้าพระยาแห่งนี้ 

รถโดยสารประจำทาง 
บริษัท ขนส่ง จำกัด มีบริการรถโดยสารธรรมดาและรถโดยสารปรับอากาศไปจังหวัดพระนครศรีอยุธยาทุกวัน วันละหลายเที่ยว โดยออกจากสถานีขนส่งหมอชิต ถนนกำแพงเพชร 2 รถโดยสารปรับอากาศชั้น 1 กรุงเทพฯ-พระนครศรีอยุธยา และรถโดยสารปรับอากาศชั้น 2 กรุงเทพฯ-ศูนย์ศิลปาชีพบางไทร-พระนครศรีอยุธยา สอบถามเพิ่มเติมได้ที่ โทร. 0 2936 2852-66 หรือที่เว็บไซต์ www.transport.co.th  

แผนที่จังหวัดอยุธยา/map of PHRANAKHONSIAYUTTHAYA
รายชื่อโรงแรมจังหวัดพระนครศรีอยุธยา/Hotel of PHRANAKHONSIAYUTTHAYA

 
 
dooasia.com
สงวนลิขสิทธิ์ © 2550 ดูเอเซีย    www.dooasia.com

เว็บท่องเที่ยว จองที่พัก จองตั๋วเครื่องบินออนไลน์ ข้อมูลท่องเที่ยว ไทย ลาว กัมพูชา เวียดนาม แผนที่ การเดินทาง ที่พัก ร้านอาหาร จองที่พักและโรงแรมออนไลน์ผ่านอินเตอร์เน็ตทั่วโลก คลิปวีดีโอ ไทย ลาว เวียดนาม กัมพูชา สถานที่ท่องเที่ยวในประเทศไทย ลาว เวียดนาม ขอขอบคุณข้อมูลจาก การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย การท่องเที่ยวลาว การท่องเที่ยวกัมพูชา การท่องเที่ยวเวียดนาม มรดกไทย กรมป่าไม้
dooasia(at)gmail.com ใช้สัญญาอนุญาตของครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 3.0 ประเทศไทย. สัญญาอนุญาตของครีเอทีฟคอมมอนส์