ท่องเที่ยว || เพิ่มข้อมูลสถานที่ท่องเที่ยว|| ดูดวงตำราไทย|| อ่านบทละคร|| เกมส์คลายเครียด|| วิทยุออนไลน์ || ดูทีวี|| ท็อปเชียงใหม่ || รถตู้เชียงใหม่
  dooasia : ดูเอเซีย   รวมเว็บ   บอร์ด     เรื่องน่ารู้ของสยาม   สิ่งน่าสนใจ  
 
สำหรับนักท่องเที่ยว
ตรวจสอบระยะทาง
แผนที่ 77 จังหวัด
คู่มือ 77 จังหวัด(PDF)
จองโรงแรม
ข้อมูลโรงแรม
เส้นทางท่องเที่ยว(PDF)
ข้อมูลวีซ่า
จองตั๋วเครื่องบิน
จองตั๋วรถทัวร์
ทัวร์ต่างประเทศ
รถเช่า
197 ประเทศทั่วโลก
แลกเปลี่ยนเงินสากล
ซื้อหนังสือท่องเทียว
dooasia.com แนะนำ
  เที่ยวหลากสไตล์
  มหัศจรรย์ไทยเแลนด์
  เส้นทางความสุข
  ขับรถเที่ยวตลอน
  เที่ยวทั่วไทย 77 จังหวัด
  อุทยานแห่งชาติในไทย
  วันหยุดวันสำคัญไทย-เทศ
  ศิลปะแม่ไม้มวยไทย
  ไก่ชนไทย
  พระเครื่องเมืองไทย
 
 
ข้อมูลท่องเที่ยวประเทศเกาหลี
ข้อมูลท่องเที่ยวประเทศลาว
ข้อมูลท่องเที่ยวประเทศกัมพูชา
ข้อมูลท่องเที่ยวประเทศเวียดนาม
ข้อมูลท่องเที่ยวประเทศพม่า
ข้อมูลท่องเที่ยวประเทศจีน
 
เที่ยวภาคเหนือ กำแพงเพชร : เชียงราย : เชียงใหม่ : ตาก : นครสวรรค์ : น่าน : พะเยา : พิจิตร : พิษณุโลก : เพชรบูรณ์ : แพร่ : แม่ฮ่องสอน : ลำปาง : ลำพูน : สุโขทัย : อุตรดิตถ์ : อุทัยธานี
  เที่ยวภาคอีสาน กาฬสินธุ์ : ขอนแก่น : ชัยภูมิ : นครพนม : นครราชสีมา(โคราช): บุรีรัมย์ : มหาสารคาม : มุกดาหาร : ยโสธร : ร้อยเอ็ด : เลย : ศรีสะเกษ : สกลนคร : สุรินทร์ : หนองคาย : หนองบัวลำภู : อำนาจเจริญ : อุดรธานี : อุบลราชธานี : บึงกาฬ(จังหวัดที่ 77)
  เที่ยวภาคกลาง กรุงเทพฯ : กาญจนบุรี : ฉะเชิงเทรา : ชัยนาท : นครนายก : นครปฐม : นนทบุรี : ปทุมธานี : ประจวบคีรีขันธ์ : ปราจีนบุรี : พระนครศรีอยุธยา : เพชรบุรี : ราชบุรี : ลพบุรี : สมุทรปราการ : สมุทรสาคร : สมุทรสงคราม : สระแก้ว : สระบุรี : สิงห์บุรี : สุพรรณบุรี : อ่างทอง
  เที่ยวภาคตะวันออก จันทบุรี : ชลบุรี : ตราด : ระยอง

  เที่ยวภาคใต้ กระบี่ : ชุมพร : ตรัง : นครศรีธรรมราช : นราธิวาส : ปัตตานี : พัทลุง : พังงา : ภูเก็ต : ยะลา : ระนอง : สงขลา : สตูล : สุราษฎร์ธานี

www.dooasia.com > จังหวัดกรุงเทพ >อนุสาวรีย์พระเจ้าตากสินมหาราช/ 

อนุสาวรีย์พระเจ้าตากสินมหาราช/

 

พระราชประวัติสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช

สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช ทรงพระราชสมภพ เมื่อวันอาทิตย์ที่ 23 มีนาคม พ.ศ. 2277 ตรงกับปีขาล ขึ้น 15 คํ่าเดือน 5 จุลศักราช 1096 ในรัชกาลสมเด็จพระเจ้าอยู่บรมโกศ แห่งกรุงศรีอยุธยา การรับราชการ

ตำแหน่งราชการที่สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศ ทรงไว้วางพระทัยโปรดเกล้าฯ ให้ปฏิบัติมีอยู่หัวมากมาย อาทิ ตำแหน่งมหาดเล็กรายงาน ซึ่งเป็นข้าหลวงเชิญท้องตราพระราชสีห์ขึ้น ไปชำระความตามหัวเมืองเหนือ เพราะทรงมีความรู้ด้านกฏหมายเป็นอย่างดี และได้รับพระมหากรุณาธิคุณโปรดเกล้าฯ ให้ดำรงตำแหน่งเจ้าเมืองตาก ตามลำดับ

 

ในสมัยสมเด็จพระเจ้าเอกทัศ ทรงโปรดเกล้าฯ ให้ดำรงตำแหน่งพระยาวชิรปราการ เจ้าเมืองกำแพงเพชร อันเป็นตำแหน่งสูงสุดฝ่ายพลเรือน แต่บ้านเมืองเกิดศึกสงครามเสียก่อน จึงต้องอยู่ช่วยราชการไม่ทันได้เดินทางไปรับตำแหน่ง ฝ่าวงล้อมทหารพม่า

 

ในวันที่ 3 มกราคม พ.ศ. 2309 ซึ่งตรงกับวัยเสาร์ ขึ้น 4 คํ่าเดือนยี่ จุลศักราช 1128 ปีจอ อัฐศก พระยาวชิรปราการ ( ยศในขณะนั้น ) เห็นว่ากรุงศรีอยุธยาคงต้องเสียทีแก่พม่า จึงตัดสินใจ รวบรวมทหารกล้าราว 500 คน ตีฝ่าวงล้อมทหารพม่า โดยตั้งใจว่า จะกลับมากู้กรุงศรีอยุธยากลับคืนให้ได้โดยเร็ว

พระยาวชิรปราการ ต้องการยึดเมืองจันทบุรีไว้เป็นที่มั่น เพื่อรวบรวมพลังกลับมาตีพม่า จึงสั่งทหารทุกคนว่า "เมื่อกินข้าวปลาอาหารอิ่มแล้ว ให้ทุบหม้อข้าวหม้อแกงทิ้งเสีย คืนนี้เราจะตีเมืองจันทบุรีให้ได้ แล้วพรุ่งนี้เราจะกินข้าวเช้ากัน ในเมืองจันท์ " กู้ชาติ กรุงศรีอยุธยาแตกเมื่อวันอังคาร ขึ้น 9 คํ่าเดือน 8 ปีกุน นพศก จุลศักราช 1129 ตรงกับ พ.ศ. 2310 และสมเด็จพระเจ้าตากสิน สามารถกู้กลับคืนมาได้ เมื่อวันศุกร์ ขึ้น 15 คํ่าเดือน 12 จุลศักราช 1129 ปีกุน นพศก ซึ่งตรง กับวันที่ 6 พฤศจิกายน พ.ศ. 2310 รวมใช้เวลารวบรวมผู้คน จนเป็นทัพใหญ่กลับมากู้ชาติ ด้วยระยะเวลาเพียง 5 เดือนเท่านั้น ตั้งราชธานีใหม่

 

พระเจ้าตากส ินทรงเห็นว่า กรุงศรีอยุธยาเสียหายมากมายยากที่จะปฏิสังขรณ์ จึงให้ย้ายมาสร้างเมืองหลวงใหม่ ที่กรุงธนบุรี เพราะเห็นว่าไม่ใหญ่โตเกินกำลัง มีป้อมปราการที่แข็งแรงสามารถ ป้องกันข้าศึกศัตรูได้ เนื่องจากมีป้อมกันข้าศึกถึง 3 ป้อม อีกทั้งมีความอุดมสมบูรณ์ ด้วยพืชพันธ์ธํญญาหาร และเป็นเมืองใก้ลทะเล สามารถติดต่อค้าขายกับต่างประเทศได้สะดวก ปราบดาภิเษก

 

หลังจากสร้างพระราชวัง บนฝั่งตะวันตกของแม่นํ้าเจ้าพระยาแล้ว เมื่อทรงจัดการบ้านเมืองเรียบร้อยพอสมควร บรรดาแม่ทัพ นายกอง ขุนนาง ข้าราชการทั้งฝ่ายทหารและพลเรือน ตลอดทั้งสมณะพราหมณาจารย์ และอาณาประชาราษฎร์ ทั้งหลาย จึงพร้อมกันกราบบังคมทูลอัญเชิญขึ้นทรงปราบดาภิเษก เป็นพระมหากษัตริย์ ณ วันพุธ เดือนอ้าย แรม 4 คํ่า จุลศักราช 1130 ปีชวด สัมฤทธิศก ตรงกับวันที่ 4 แต่เรียกขานพระนามของพระองค์ติดปากว่า พระศรีสรรเพชญ์ หรือ สมเด็จพระบรมราชาที่ 4 แต่เรียกขานพระนามของพระองค์ติดปากว่า สมเด็จพระเจ้าตากสินหรือ สมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรี พระราชกรณียกิจที่สำคัญๆ

 

นอกจากพระราชกรณียกิจในด้านกู้ชาติแล้ว สมเด็จพระเจ้าตากสิน ยังได้ปราบอริราชศัตรู ที่มักจะล่วงลํ้าเขตแดน เข้ามาซํ้าเติมไทยยามศึกสงครามอยู่เสมอ จนในสมัยของพระองค์ ได้ขยายอาณาเขตออกไปอย่างไพศาล กล่าวคือ


ทิศเหนือ ได้ดินแดนหลวงพระบาง และเวียงจันทน์     
ทิศใต้ ได้ดินแดนกะลันตัน ตรังกานู และไทรบุรี
ทิศตะวันออก ได้ดินแดนลาว เขมร ทางฝั่งแม่นํ้าโขงจดอาณาเขตญวน
ทิศตะวันตก
ได้ดินแดนเมาะตะมะ ได้ดินแดน เมืองทวาย มะริด ตะนาวศรี

พระองค์ยังโปรดเกล้าฯ ให้มีการฟื้นฟู และสร้างวรรณกรรม นาฏศิลป์ และการละครขึ้นใหม่ แม้ว่าจะมีศึกสงคราม ตลอดรัชกาล กระนั้นก็ยังทรงพระราชนิพนธ์ เรื่องรามเกียรติ์ถึง 4 เล่มสมุดไทย ในปี พ.ศ. 2312 นับว่าทรงมีอัจฉริยภาพสูงส่ง เป็นอย่างมาก และในรัชสมัยของพระองค์ มีกวีที่สมควรได้รับการยกย่อง 2 ท่าน คือ

นายสวน มหาดเล็ก ซึ่งแต่งโครงสี่สุภาพ แต่งขึ้นเพื่อยอพระเกียรติ และสรรเสริญสมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรี มี 45 บท เป็นสำนวนที่เรียบง่าย แต่ทรงคุณค่าด้วยเป็นหลักฐานที่คนรุ่นต่อมา ได้ทราบถึงสภาพบ้านเมือง และความเป็นไปในยุคนั้น

หลวงสรวิชติ (หน) ซึ่งต่อมาในสมัยรัตนโกสินทร์ มีบรรดาศักดิ์เป็นเจ้าพระยาพระคลัง (หน) งานประพันธ์ของท่าน เป็นที่รู้จักและแพร่หลาย จนถึงปัจจุบัน เช่น สามก๊ก เป็นต้น

 

พระเจ้าตากสิน ยังโปรดให้มีการทำนุบำรุงการพระพุทธศาสนา การติดต่อการค้ากับต่างประเทศ ในด้านการปกครอง หลังจากสถาปนากรุงธนบุรีเป็นราชธานีแล้ว ทรงจัดวางตำแหน่งหน้าที่ข้าราชการ ทั้งฝ่ายทหารและพลเรือน ทรงสอดส่องทุกข์สุขของราษฎร์ และหลังจากกอบกู้แผ่นดินได้แล้ว พระองค์ได้ทรงอัญเชิญ พระบรมศพสมเด็จเอกทัด มาจัดถวายพระเพลิงอย่างสมเกียรติ และยังทรงรับอุปการะบรรดา เจ้าฟ้า พระองค์เจ้า พระราชโอรส ตลอดทั้งพระเจ้าหลานเธอ ของพระมหากษัตริย์กรุงศรีอยุธยาทุกพระองค์ ด้วยความกตัญญูกตเวที เหตุการณ์ช่วงปลายรัชกาล

 

ในปี พ.ศ. 2324 เกิดศึกทางกัมพูชา สมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรีโปรดเกล้าฯ ให้สมเด็จเจ้าพระยามหากษัตริย์ศึก ถืออาญาสิทธิ์เป็นแม่ทัพไปปราบ พร้อมกันนั้น ยังได้ทรงทอดฉลองพระองค์พระราชทานให้ด้วย เหมือนกับจะเป็นบุพนิมิตว่า สมเด็จเจ้าพระยามหากษัตริย์ศึกได้เป็นพระเจ้าแผ่นดินต่อไปในภายหน้า และการก็เป็นจริงดังนั้น ด้วยเพราะเกิดการจลาจลขึ้นมนกรุงธนบุรี สมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรีพระสติฟั่นเฟือน เมื่อสมเด็จเจ้าพระยามหากษัตริย์ศึกกลับสู่พระนคร บรรดาเหล่าข้าราชการ และราษฎรทั้งปวง จึงอัญเชิญให้ขึ้นเป็น พระเจ้าแผ่นดิน องค์ปฐมกษัตริย์แห่งราชวงศ์จักรี ในวันที่ 6 เมษายน พ.ศ. 2325 เพื่อปกครองไพร่ฟ้าประชาราษฎร์สืบต่อไป ถวายพระนามมหาราชและการสร้างพระราชอนุสาวรีย์

 

ด้วยพระปรีชาสามารถของพระองค์ตามที่กล่าวมาแล้ว ประชาชนทุกหมู่เหล่าจึงพร้อมใจกันถวายพระนาม " มหาราช " "สมเด็จพระเจ้าตากสิน " และรัฐบาลอันมี ฯพณฯ จอมพล ป. พิบูลสงคราม เป็นนายกรัฐมนตรี พร้อมทั้งเหล่าพสกนิกรชาวไทย ได้พร้อมใจกันสร้างอนุสาวรีย์ประดิษฐาน ณ วงเวียนใหญ่ ฝั่งธนบุรี ซึ่งศาสตราจารย์ศิลป์ พีระศรี คณบดีประติมากรรม มหาวิทยาลัยศิลปากรคณะนั้น เป็นผู้ออกแบบ

 

ทางราชการได้ประกอบพระราชพิธีเปิด และถวายบังคมพระบรมราชอนุสาวรีย์ ครั้งแรกเมื่อวันที่ 17 เมษายน พ.ศ. 2497 และในวันที่ 28 ธันวาคม พ.ศ. 2497 จึงมีรัฐพิธีเปิด เป็นทางการอีกครั้งหนึ่ง โดยพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช เสด็จพระราชดำเนินทรงวาง พวงมาลา ถวายราชสักการะ ต่อมาทางราชการจึงกำหนดให้วันที่ 28 ธันวาคม ซึ่งเป็นวันคล้ายวัน เสวยราชย์ปราบภิเษกเป็นพระมหากษัตริย์ไทย เป็นวันถวายบังคมพระบรมราชอนุสาวรีย สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช

 

 

Loading...

 
รูปภาพถ่ายสถานที่ท่องเที่ยวอนุสาวรีย์พระเจ้าตากสินมหาราช

 
กรุงเทพ/Information of BANGKOK

  อนุสาวรีย์พระเจ้าตากสินมหาราช

 
เชิญแนะนำการเดินทาง ที่พัก ร้านอาหาร สถานที่ท่องเที่ยว ความประทับใจ

เชิญแนะนำการเดินทาง ที่พัก ร้านอาหาร สถานที่ท่องเที่ยว ความประทับใจ

ชื่อ / Email
ข้อความ
  

กรุงเทพ แผนที่กรุงเทพ โรงแรมในกรุงเทพ กรุงเทพ แผนที่ กรุงเทพ โรงแรม กรุงเทพ แผนที่กรุงเทพฯ แผนที่กรุงเทพมหานคร จังหวัดกรุงเทพ โรงแรมในกรุงเทพฯ ที่พัก ริมน้ำ ในกรุงเทพฯ แผนที่ถนนกรุงเทพ โปรแกรมเที่ยวกรุงเทพ

โรงแรมและที่พักในกรุงเทพคลิกที่นี่ครับ เลือกพักตามสบายนะ
List of Hotel in Bangkok Click!



สถานที่ท่องเที่ยวในกรุงเทพ



วัดพระเชตุพนวิมล
มังคลาราม

Wat Phra Che Tu Phon Wimon Mang Khla Ram

(กรุงเทพ)



วัดอินทรารามวิหาร
Wat In Thra Ram Wihan
(กรุงเทพ)



พิพิธภัณฑ์ศิลปาชีพ

SinlaPaChip Museum
(กรุงเทพ)



พระที่นั่งอนันตสมาคมและรัฐภา

Anandhasmakhom Palace
(กรุงเทพ)



พิพิธภัณฑ์สถานแห่งชาติ

National Museum
(กรุงเทพ)



หอศิลป์แห่งชาติ

The National Arts Gallery
(กรุงเทพ)



พิพิธภัณฑ์สถาน
แห่งชาตเรือพระราช

Royal Barge National Museum
(กรุงเทพ)



พิพิธภัณฑ์
เครื่องปั้นดินเผา

Pottery Museum
(กรุงเทพ)



พิพิธภัณฑ์วิทยาศาสตร์ท้องฟ้าจำลอง

Museum of Sciences and Planetarium
(กรุงเทพ)



พิพิธภัณฑ์ธนาคารแห่งประเทศไทย
Bank of Thailand Museum
(กรุงเทพ)



พิพิธพัณฑ์แร่และหิน

Rare Stone Museum
(กรุงเทพ)



หอเกียรติภูมิรถไฟ

Hall of Railway Heritage
(กรุงเทพ)



พิพิธภัณฑ์ปราสาท
มิวเซียม

Prasat Mio Sian Museum
(กรุงเทพ)



วังสวนผักกาด

Suan Pakkad Palace
(กรุงเทพ)



บ้านตุ๊กตาบางกอกดอลล์

Bangkok Doll Museum
(กรุงเทพ)



ศูนย์วัฒนธรรมแห่งประเทศไทย

Thailand cultural Centre
(กรุงเทพ)



สะพานพระราม 9

Phra Ram 9 Bridge
(กรุงเทพ)


 
แผนที่จังหวัดกรุงเทพ/map of BANGKOK
 


แผนที่ท่องเที่ยวทางเรือกรุงเทพฯ


แผนที่จังหวัดกรุงเทพ/map of BANGKOK นี้มาจากเว็บไซต์ของการท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย

โรงแรมทั้งหมดในกรุงเทพ โปรโมชั่นพิเศษสุด!!

 
 
dooasia.com
สงวนลิขสิทธิ์ © 2550 ดูเอเซีย    www.dooasia.com

เว็บท่องเที่ยว จองที่พัก จองตั๋วเครื่องบินออนไลน์ ข้อมูลท่องเที่ยว ไทย ลาว กัมพูชา เวียดนาม แผนที่ การเดินทาง ที่พัก ร้านอาหาร จองที่พักและโรงแรมออนไลน์ผ่านอินเตอร์เน็ตทั่วโลก คลิปวีดีโอ ไทย ลาว เวียดนาม กัมพูชา สถานที่ท่องเที่ยวในประเทศไทย ลาว เวียดนาม ขอขอบคุณข้อมูลจาก การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย การท่องเที่ยวลาว การท่องเที่ยวกัมพูชา การท่องเที่ยวเวียดนาม มรดกไทย กรมป่าไม้
dooasia(at)gmail.com ใช้สัญญาอนุญาตของครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 3.0 ประเทศไทย. สัญญาอนุญาตของครีเอทีฟคอมมอนส์