ท่องเที่ยว || เพิ่มข้อมูลสถานที่ท่องเที่ยว|| ดูดวงตำราไทย|| อ่านบทละคร|| เกมส์คลายเครียด|| วิทยุออนไลน์ || ดูทีวี|| ท็อปเชียงใหม่ || รถตู้เชียงใหม่
  dooasia : ดูเอเซีย   รวมเว็บ   บอร์ด     เรื่องน่ารู้ของสยาม   สิ่งน่าสนใจ  
 
สำหรับนักท่องเที่ยว
ตรวจสอบระยะทาง
แผนที่ 77 จังหวัด
คู่มือ 77 จังหวัด(PDF)
จองโรงแรม
ข้อมูลโรงแรม
เส้นทางท่องเที่ยว(PDF)
ข้อมูลวีซ่า
จองตั๋วเครื่องบิน
จองตั๋วรถทัวร์
ทัวร์ต่างประเทศ
รถเช่า
197 ประเทศทั่วโลก
แลกเปลี่ยนเงินสากล
ซื้อหนังสือท่องเทียว
dooasia.com แนะนำ
  เที่ยวหลากสไตล์
  มหัศจรรย์ไทยเแลนด์
  เส้นทางความสุข
  ขับรถเที่ยวตลอน
  เที่ยวทั่วไทย 77 จังหวัด
  อุทยานแห่งชาติในไทย
  วันหยุดวันสำคัญไทย-เทศ
  ศิลปะแม่ไม้มวยไทย
  ไก่ชนไทย
  พระเครื่องเมืองไทย
 
 
ข้อมูลท่องเที่ยวประเทศเกาหลี
ข้อมูลท่องเที่ยวประเทศลาว
ข้อมูลท่องเที่ยวประเทศกัมพูชา
ข้อมูลท่องเที่ยวประเทศเวียดนาม
ข้อมูลท่องเที่ยวประเทศพม่า
ข้อมูลท่องเที่ยวประเทศจีน
 
เที่ยวภาคเหนือ กำแพงเพชร : เชียงราย : เชียงใหม่ : ตาก : นครสวรรค์ : น่าน : พะเยา : พิจิตร : พิษณุโลก : เพชรบูรณ์ : แพร่ : แม่ฮ่องสอน : ลำปาง : ลำพูน : สุโขทัย : อุตรดิตถ์ : อุทัยธานี
  เที่ยวภาคอีสาน กาฬสินธุ์ : ขอนแก่น : ชัยภูมิ : นครพนม : นครราชสีมา(โคราช): บุรีรัมย์ : มหาสารคาม : มุกดาหาร : ยโสธร : ร้อยเอ็ด : เลย : ศรีสะเกษ : สกลนคร : สุรินทร์ : หนองคาย : หนองบัวลำภู : อำนาจเจริญ : อุดรธานี : อุบลราชธานี : บึงกาฬ(จังหวัดที่ 77)
  เที่ยวภาคกลาง กรุงเทพฯ : กาญจนบุรี : ฉะเชิงเทรา : ชัยนาท : นครนายก : นครปฐม : นนทบุรี : ปทุมธานี : ประจวบคีรีขันธ์ : ปราจีนบุรี : พระนครศรีอยุธยา : เพชรบุรี : ราชบุรี : ลพบุรี : สมุทรปราการ : สมุทรสาคร : สมุทรสงคราม : สระแก้ว : สระบุรี : สิงห์บุรี : สุพรรณบุรี : อ่างทอง
  เที่ยวภาคตะวันออก จันทบุรี : ชลบุรี : ตราด : ระยอง

  เที่ยวภาคใต้ กระบี่ : ชุมพร : ตรัง : นครศรีธรรมราช : นราธิวาส : ปัตตานี : พัทลุง : พังงา : ภูเก็ต : ยะลา : ระนอง : สงขลา : สตูล : สุราษฎร์ธานี

www.dooasia.com > จังหวัดอ่างทอง >วัดยาง/Wat Yang 

วัดยาง/ Wat Yang

 

วัดยาง อ. แสวงหา จ. อ่างทอง

วัดยาง อยู่ที่ตำบลห้วยไผ่ สันนิษฐานว่าสร้างในสมัยอยุธยาตอนปลาย ยังคงมีซากโบราณสถานให้เห็นคือ พระอุโบสถซึ่งมีฐานโค้งเป็นเรือสำเภา พระพุทธรูปศิลาทราย พระพุทธรูปปูนปั้นที่ชำรุดและใบเสมาหินห่างไปทางทิศใต้ของวัดประมาณครึ่งกิโลเมตรมีเนินดินซึ่งเคยพบพระเครื่องจำนวนมาก จากการที่อยู่ไม่ไกลจากบ้านบางระจันมากนัก จึงสันนิษฐานว่า บริเวณนี้คงเป็นสถานที่ซ่อนสมบัติของมีค่าของคนไทยในสมัยนั้น

หลวงพ่อสุวรรณ ธีรสัทโธ"
แห่งวัดยาง ต.ห้วยไผ่ อ.แสวงหา จ.อ่างทอง พระเกจิอาจารย์เจ้าตำรับตะกรุดโทน ได้รับการยกย่องว่าเป็นเกจิอาจารย์ระดับแนวหน้า เอกอุด้านวิทยาคมเป็นที่เลื่องลือไปทั่ว

ได้รับสมญานามจากคณะศิษยานุศิษย์ที่เลื่อมใสศรัทธาว่าเป็น "เทพเจ้าแห่งแดนวีรชนใจกล้า"  อัตโนประวัติ เกิดในสกุล บัวสรวง เมื่อวันที่ 1 มกราคม 2487 ที่บ้านทับยา ต.บ้านไร่ อ.อินทร์บุรี จ.สิงห์บุรี โยมบิดา-มารดา ชื่อ นายอินและนางก้อย บัวสรวง ประกอบอาชีพกสิกรรมและค้าขาย

ในช่วงวัยเยาว์ จบชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 ที่โรงเรียนวัดบ้านไร่ ก่อนลาออกมาช่วยครอบครัวหาเลี้ยงชีพย่างเข้าวัยหนุ่ม ได้ประกอบอาชีพเป็นตัวแทนขายเคมีภัณฑ์ตามที่ญาติแนะนำ

กระทั่งอายุ 42 ปี เกิดความเบื่อหน่ายทางโลกและต้องการบวชทดแทนคุณบุพการี จึงเข้าพิธีอุปสมบท ณ พัทธสีมาวัดคำหยาด อ.โพธิ์ทอง จ.อ่างทอง โดยมีพระครูเกษมจริยคุณ เจ้าคณะอำเภอเมืองอ่างทอง เจ้าอาวาสวัดไทรย์ เป็นพระอุปัชฌาย์, พระครูโฆสิษโชติคุณ เจ้าอาวาสวัดคำหยาด เป็นพระกรรมวาจาจารย์ และพระปลัดบุญยัง เขมปัญโญ วัดขุนอินทประมูล เป็นพระอนุสาวนาจารย์

เมื่ออุปสมบท ได้อยู่จำพรรษาที่วัดคำหยาด สามารถสอบได้นักธรรมชั้นเอก และออกท่องธุดงค์ไปตามสถานที่ต่างๆ ในประเทศ ครั้งหนึ่งมีโอกาสไปพำนักที่วัดพรหมประกาสิต (ถ้ำสามพี่น้อง) ต.กลางดง อ.ปากช่อง จ.นครราชสีมา ปฏิบัติกัมมัฏฐานบำเพ็ญเพียร

เมื่อปฏิบัติธรรมสมหวัง จึงเดินทางมาจำพรรษาที่วัดคำหยาด ศึกษาร่ำเรียนสรรพวิทยาคมสายหลวงพ่อแป้น วัดบ้านไร่, หลวงพ่อแพ วัดพิกุลทอง จ.สิงห์บุรี พระเกจิดัง ได้ถ่ายทอดวิชาให้อย่างครบถ้วน

พ.ศ.2535 คณะสงฆ์จังหวัดอ่างทอง ได้มอบหมายให้ท่านบูรณปฏิสังขรณ์วัดยาง ต.ห้วยไผ่ อ.แสวงหา จ.อ่างทอง ตั้งอยู่ริมคลองห้วยไผ่ฝั่งตรงข้ามวัดโพธิ์เก้าต้น และอนุสรณ์สถานค่ายบางระจัน อ.บางระจัน จ.สิงห์บุรี

วัดยางถูกทิ้งร้างมาตั้งแต่สมัยศึกบางระจัน เสนาสนะที่หลงเหลือมีเพียงวิหารฐานอ่อนโค้งอยู่ในสภาพปรักหักพัง ไม่มีหลังคา

หลวงพ่อสุวรรณ ได้จัดสร้างตะกรุดเมตตามหานิยม แคล้วคลาดคงกระพัน เพื่อให้บูชารวบรวมจตุปัจจัย จนสามารถก่อสร้างอุโบสถ ศาลาการเปรียญ เมรุ กุฏิสงฆ์ หอสวดมนต์ อนุสรณ์สถานวีรชนไทยใจกล้า เป็นต้น

หลวงพ่อสุวรรณ เป็นที่ยอมรับและศรัทธาของคณะศิษยานุศิษย์ เชื่อกันว่าท่านมีคาถาอาคมทรงพุทธคุณครอบจักรวาล โดยเฉพาะด้านเมตตามหานิยม และด้านมหาอำนาจปกป้องผองภัยสารพัด

วัตถุมงคลของท่าน ล้วนแต่ได้รับความนิยมจากประชาชน เนื่องจากมีพุทธคุณครอบจักร วาล โดดเด่นหลายด้าน ที่ได้รับความนิยม คือตะกรุดที่ปรากฏปาฏิหาริย์แก่ผู้บูชา เอกลักษณ์เฉพาะสร้างตามตำราพิชัยสงคราม ยันต์จารมือธาตุดิน น้ำ ลม ไฟ (นะ มะ พะ ทะ) และยันต์ถอด (ทะ พะ มะ นะ) จึงเท่ากับ 16 ตาราง คือ ยันต์พระเจ้า 16 พระองค์

มียันต์อัครสาวกซ้ายขวา (ซ้าย อุมิ อะมิ) (ขวา นะมะ นะอา) และยันต์ถอด รวมทั้งยันต์แคล้วคลาด (สะ รา คา มิ) และยันต์ถอด จึงเป็นเจ้าตำรับตะกรุดโทนแห่งยุค

นอกจากนี้ วัตถุมงคลที่ได้รับความนิยมยังมีเหรียญเสมา เหรียญมหาบารมี รูปหล่อเหมือน

หลวงพ่อสุวรรณ ย้ำอยู่เสมอว่า วัตถุมงคลทั้งหลายล้วนเข้มแข็งด้วยอำนาจแห่งพุทธคุณ ธรรมคุณ สังฆคุณ

การเข้ากราบไหว้ขอพรจากหลวงพ่อสุวรรณ ทุกคนมีโอกาสเท่าเทียมกันหมด ไม่มีผู้ใดกีดกัน และท่านมักจะนำวิชาความรู้ด้านวิทยาคมเป็น กุศโลบายในการอบรมสั่งสอนศีลธรรมแก่ประชา ชนทั่วไป โดยให้ยึดหลักธรรมคำสั่งสอนตามแนว ทางพระพุทธศาสนา




Loading...

 
รูปภาพถ่ายสถานที่ท่องเที่ยววัดยาง

 
อ่างทอง/Information of ANGTHONG

  Wat Yang วัดยาง
Located at Tambon Hueiphai and was presumeably constructed in the late Ayutthaya period. The remaining
ruins include the ubosot with an upward curve base simisar to junk, sandstone Buddha images, damaged
stucco Buddha images and boundary stones. About half a kilometre south of the temple, there is an earthen
mound where a large quantity of amulets were found.

 
เชิญแนะนำการเดินทาง ที่พัก ร้านอาหาร สถานที่ท่องเที่ยว ความประทับใจ

เชิญแนะนำการเดินทาง ที่พัก ร้านอาหาร สถานที่ท่องเที่ยว ความประทับใจ

ชื่อ / Email
ข้อความ
  

อ่างทอง
อำเภอป่าโมก

อำเภอวิเศษชัยชาญ


วัดเขียน

Wat Khian
(อ่างทอง)


วัดอ้อย

Wat Oi
(อ่างทอง)


วัดม่วง

Wat Muang
(อ่างทอง)


วัดหลวง

Wat Luang
(อ่างทอง)

อำเภอเมือง


บึงสำเภาลอย

(อ่างทอง)

อำเภอแสวงหา


วัดยาง

Wat Yang
(อ่างทอง)

อำเภอโพธิ์ทอง

อำเภอไชโย

แผนที่จังหวัดอ่างทอง/map of ANGTHONG

การเดินทาง
รถโดยสารประจำทาง
บริษัท ขนส่ง จำกัด มีบริการรถโดยสารประจำทางระหว่างกรุงเทพฯ-อ่างทอง ทั้งรถธรรมดาและรถปรับอากาศ ทุกวัน สามารถขึ้นรถได้ที่สถานีขนส่งสายเหนือ ถนนกำแพงเพชร 2 สอบถามรายละเอียดเพิ่มเติมโทร. 0 2537 8055, 0 2936 2852-66, 0 2936 3603 เว็บไซต์ www.transport.co.th 

รถยนต์ 
จากกรุงเทพฯ สามารถเดินทางได้หลายเส้นทาง คือ
เส้นทางที่ 1 ใช้เส้นทางสายพหลโยธิน ทางหลวงหมายเลข 32 จากกรุงเทพฯ แยกเข้าเส้นทางสายเอเชีย ผ่านอำเภอบางปะอิน-พระนครศรีอยุธยา-อำเภอบางปะหัน-อ่างทอง รวมระยะทาง 105 กิโลเมตร
เส้นทางที่ 2 ใช้เส้นทางตัดใหม่ ข้ามสะพานพระปิ่นเกล้า - ตลิ่งชัน เข้าเส้นทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 340 ผ่านจังหวัดนนทบุรี-ปทุมธานี-พระนครศรีอยุธยา-สุพรรณบุรี-อ่างทอง รวมระยะทางประมาณ 150 กิโลเมตร
เส้นทางที่ 3 ใช้เส้นทางกรุงเทพฯ-ปทุมธานี ผ่านปากเกร็ด เข้าทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 3111 ผ่านอำเภอบางไทร-อำเภอเสนา-พระนครศรีอยุธยา จากนั้นใช้เส้นทางหมายเลข 3263 และต่อเข้าทางหลวงหมายเลข 309 เข้าอำเภอป่าโมก-อ่างทอง รวมระยะทาง 140 กิโลเมตร
หรือใช้ทางพิเศษอุดรรัถยา (ทางด่วนสายบางปะอิน-ปากเกร็ด) สอบถามเพิ่มเติมได้ที่ โทร. 1543

อ่างทอง/Information of ANGTHONG

 

General Information

Ang Thong is a small province on the bank of the Chao Phraya River. The former settlement is at Wiset Chai Chan on the bank of the Noi River. It was an essential frontier outpost of Ayutthaya when fighting with the Burmese. The majority of the people was later moved to a new site on the left bank of the Chao Phraya River during the Thon Buri period.

Ang Thong is located 108 kilometres north of Bangkok. It occupies an area of 968 square kilometres and is administratively divided into seven districts (Amphoes): Mueang Ang Thong, Chaiyo, Pa Mok, Pho Thong, Sawaeng Ha, Wiset Chai Chan and Samko.

How to get there
Car
All provinces and major districts in the Central Region are linked by highways while the distant districts and villages can be accessible by rural roads.

Bus
Bus transportation services are available at two main stations in Bangkok. From the bus terminal on Kamphaeng Phet II Road (Tel. 0 2936 0649,0 2936 1972), there are both air-conditioned and non air-conditioned buses leaving for Chai Nat, Nakhon Nayok, Prachin Buri, Lop Buri, Saraburi, Sing Buri, Suphan Buri, Ang Thong, Ayutthaya, Bang Pa-in, Bang Sai, Aranyaprathet, Chachoengsao, and Samut Songkhram. The Southern Bus Terminal (Tel. 0 2435-1199, 0 2434 5557-8) on Boromarajajonani Road operates daily buses to Kanchanaburi, Cha-am, Damnoen Saduak, Phetchaburi, Ratchaburi, Prachuap Khiri Khan, Bang Saphan, Nakhon Pathom, Suphan Buri, Samphran, Samut Songkhram, and Samut Sakhon.

On arrival in each city, the easiest way to travel around is by local transport like tricycle (called “Sam Lo” by Thais) or motor tricycle. “Song Thaeo” or a van with two rows of benches at the back serves as transport for travelling to the outside of the town. However, a vehicle should be rented from Bangkok or a major tourist town in case travellers need more convenience and would like to explore more attractions in the rural areas.

Train
The Bangkok Railway Station (Hua Lamphong) is the major terminal where daily trains leave for Chachoengsao, Bang Pa-in, Ayutthaya, Saraburi, Lop Buri, Nakhon Pathom, Suphan Buri, Ratchaburi, Phetchaburi, Hua Hin, and Prachuap Khiri Khan. To get to Nakhon Pathom and Kanchanaburi, one can take a train at the Thon Buri or Bangkok Noi Railway Station. Samut Sakhon and Samut Songkhram can be also reached by train from the Wongwian Yai Station. Schedules can be obtained at the Information Unit, Tel. 0 2223 7010, 0 2223 7020.

Boat
Travelling by boat is quite popular in the riverside cities or towns including Bangkok, Nonthaburi, Ayutthaya, Samut Songkhram, Nakhon Pathom, and Kanchanaburi. In those provinces, river excursions are operated by local tour operators. Boats for rent are also available at major piers. The price should be established before beginning the trip.

Between Bangkok and Nonthaburi, regular boats run along the Chao Phraya River with frequent stops to pick up and drop their passengers. The boats are usually crowded during the rush hours of a working day.

Festivals
Boat Races
Boat Races The major annual regatta takes place in front of Wat Chaiyo Worawihan on the Chao Phraya River in October together with the Luang Pho To Worship Festival.

During October, boat races are also held at other riverside temples including Wat Pa Mok by the Chao Phraya River and Wat Pho Kriap by the Noi River in Amphoe Pho Thong. Famous boats from all over the country join the races.

General Information

Ang Thong is a small province on the bank of the Chao Phraya River. The former settlement is at Wiset Chai Chan on the bank of the Noi River. It was an essential frontier outpost of Ayutthaya when fighting with the Burmese. The majority of the people was later moved to a new site on the left bank of the Chao Phraya River during the Thon Buri period.

Ang Thong is located 108 kilometres north of Bangkok. It occupies an area of 968 square kilometres and is administratively divided into seven districts (Amphoes): Mueang Ang Thong, Chaiyo, Pa Mok, Pho Thong, Sawaeng Ha, Wiset Chai Chan and Samko.

How to get there
Car
All provinces and major districts in the Central Region are linked by highways while the distant districts and villages can be accessible by rural roads.

Bus
Bus transportation services are available at two main stations in Bangkok. From the bus terminal on Kamphaeng Phet II Road (Tel. 0 2936 0649,0 2936 1972), there are both air-conditioned and non air-conditioned buses leaving for Chai Nat, Nakhon Nayok, Prachin Buri, Lop Buri, Saraburi, Sing Buri, Suphan Buri, Ang Thong, Ayutthaya, Bang Pa-in, Bang Sai, Aranyaprathet, Chachoengsao, and Samut Songkhram. The Southern Bus Terminal (Tel. 0 2435-1199, 0 2434 5557-8) on Boromarajajonani Road operates daily buses to Kanchanaburi, Cha-am, Damnoen Saduak, Phetchaburi, Ratchaburi, Prachuap Khiri Khan, Bang Saphan, Nakhon Pathom, Suphan Buri, Samphran, Samut Songkhram, and Samut Sakhon.

On arrival in each city, the easiest way to travel around is by local transport like tricycle (called “Sam Lo” by Thais) or motor tricycle. “Song Thaeo” or a van with two rows of benches at the back serves as transport for travelling to the outside of the town. However, a vehicle should be rented from Bangkok or a major tourist town in case travellers need more convenience and would like to explore more attractions in the rural areas.

Train
The Bangkok Railway Station (Hua Lamphong) is the major terminal where daily trains leave for Chachoengsao, Bang Pa-in, Ayutthaya, Saraburi, Lop Buri, Nakhon Pathom, Suphan Buri, Ratchaburi, Phetchaburi, Hua Hin, and Prachuap Khiri Khan. To get to Nakhon Pathom and Kanchanaburi, one can take a train at the Thon Buri or Bangkok Noi Railway Station. Samut Sakhon and Samut Songkhram can be also reached by train from the Wongwian Yai Station. Schedules can be obtained at the Information Unit, Tel. 0 2223 7010, 0 2223 7020.

Boat
Travelling by boat is quite popular in the riverside cities or towns including Bangkok, Nonthaburi, Ayutthaya, Samut Songkhram, Nakhon Pathom, and Kanchanaburi. In those provinces, river excursions are operated by local tour operators. Boats for rent are also available at major piers. The price should be established before beginning the trip.

Between Bangkok and Nonthaburi, regular boats run along the Chao Phraya River with frequent stops to pick up and drop their passengers. The boats are usually crowded during the rush hours of a working day.

Festivals
Boat Races
Boat Races The major annual regatta takes place in front of Wat Chaiyo Worawihan on the Chao Phraya River in October together with the Luang Pho To Worship Festival.

During October, boat races are also held at other riverside temples including Wat Pa Mok by the Chao Phraya River and Wat Pho Kriap by the Noi River in Amphoe Pho Thong. Famous boats from all over the country join the races.



 
 
dooasia.com
สงวนลิขสิทธิ์ © 2550 ดูเอเซีย    www.dooasia.com

เว็บท่องเที่ยว จองที่พัก จองตั๋วเครื่องบินออนไลน์ ข้อมูลท่องเที่ยว ไทย ลาว กัมพูชา เวียดนาม แผนที่ การเดินทาง ที่พัก ร้านอาหาร จองที่พักและโรงแรมออนไลน์ผ่านอินเตอร์เน็ตทั่วโลก คลิปวีดีโอ ไทย ลาว เวียดนาม กัมพูชา สถานที่ท่องเที่ยวในประเทศไทย ลาว เวียดนาม ขอขอบคุณข้อมูลจาก การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย การท่องเที่ยวลาว การท่องเที่ยวกัมพูชา การท่องเที่ยวเวียดนาม มรดกไทย กรมป่าไม้
dooasia(at)gmail.com ใช้สัญญาอนุญาตของครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 3.0 ประเทศไทย. สัญญาอนุญาตของครีเอทีฟคอมมอนส์