dooasia : ดูเอเซีย   รวมเว็บ           เรื่องน่ารู้ของสยาม   สิ่งน่าสนใจ  

พระเนื้อดิน  พระเนื้อชิน  พระเนื้อผง  พระกรุเนื้อดิน  พระกรุเนื้อชิน  พระกรุเนื้อผง  พระปิดตา  พระเหรียญ  พระเหรียญหล่อ  พระประกวด
พระพุทธชินราช  พระกริ่ง พระชัยวัฒน์  พระรูปหล่อ  พระผงสุริยัน- จันทรา  จตุคามรามเทพ  เครื่องราง - รูปถ่าย - ล็อคเกต
พระรอด.คอม ดูพระแท้

   
หน้าแรกดูเอเซีย.คอม
รถตู้เชียงใหม่
กล้องวงจรปิด

หวยงวดล่าสุด!!


 
Loading...

ดูพระแท้
รถตู้เชียงใหม่

เว็บบอร์ดพระเครื่องเมืองไทย

หลวงพ่อแก้ววัดเครือวัลย์ ชลบุรี
หลวงพ่อกลั่น วัดพระญาติการาม
หลวงพ่อกกล่อมวัดโพธาวาส
หลวงพ่อแก้ววัดพวงมาลัย
หลวงพ่อเกษม เขมโก
หลวงปู่กลิ่น วัดสะพานสูง
หลวงพ่อก๋ง วัดเขาสมอคอน
หลวงพ่อกวยวัดโฆสิตาราม
พระอุปัชฌากรัก วัดอัมพวัน
หลวงพ่อกึ๋น วัดดอน
หลวงปู่กลีบ วัดตลิ่งชัน
พระครูนิสิตคุณากร (กัน)
หลวงพ่อเกิด วัดบางเดื่อ
หลวงปู่แก้ว วัดช่องลม
หลวงปู่ไข่ วัดเชิงเลน
หลวงปู่ไข่วัดบางเลน
หลวงพ่อขัน วัดนกกระจาบ
หลวงปู่เขียว วัดหรงบล
หลวงพ่อเขียน วัดสำนักขุนเณร
หลวงปู่ขาว วัดถ้ำกองเพล
หลวงปู่ขาว วัดหลักสี่
หลวงปู่ขำ วัดแก้ว
หลวงพ่อขำ วัดปราสาทนิกร
พระสมุห์ขิง วัดกลาง
พระอุปัชฌาเข็ม วัดม่วง
หลวงพ่อคง วัดบางกะพร้อม
หลวงพ่อคง วัดซำป่างาม
หลวงพ่อครน วัดบางแซะ
หลวงพ่อคูณ วัดบ้านไร่
หลวงพ่อคล้ายวัดสวนขัน
หลวงพ่อคลิ้ง วัดถลุงทอง
หลวงพ่อเงินวัดบางคลาน
หลวงพ่อเงินวัดท้ายตลาด
หลวงพ่อเงิน วัดดอนยายหอม
หลวงพ่อเงินวัดอินทรวิหาร
หลวงพ่อจง วัดหน้าต่างนอก
หลวงพ่อจาด วัดบางกระเบา
พระพุทธวิริยากร วัดสัตตนารท
หลวงปู่จีนวัดท่าลาด
หลวงปู่เจียมวัดกำแพง
สมเด็จพระญานวรเถร
สมเด็จ ม.ร.ว.เจริญอิศรางกูร
หลวงปู่จันทร์วัดนางหนู
หลวงปู่จัน วัดโมลี
หลวงปู่จันทร์ วัดบ้านยาง
หลวงปู่จันทร์ วัดศรีเทพ
พระอุบาลีคุณูปมาจารย์
หลวงพ่อจั่น วัดบางมอญ
หลวงปู่ใจ วัดเสด็จ
พระญานไตรโลก(ฉาย)
หลวงพ่อฉุย วัดคงคาราม
หลวงพ่อแฉ่ง วัดศรีรัตนาราม
หลวงพ่อฉ่ำ วัดท้องคุ้ง
หลวงปู่ชา วัดหนองป่าพง
หลวงพ่อช้าง วัดเขียนเขต
หลวงปู่ช่วง วัดบางแพรกใต้
หลวงพ่อช่วง วัดปากน้ำ
หลวงปู่ชอบ วัดป่าสัมมนานุสรณ์
กรมหลวงชินวร สิริวัฒน์
กรมหลวงวชิรญานวงค์ วัดบวรฯ
พระสังวรานุวงค์เถร(ชุ่ม) (พลับ)
พระอธิการชู วัดนาคปรก
หลวงพ่อเชย วัดเจษฎาราม
หลวงพ่อเชย วัดท่าควาย
หลวงพ่อเชิดวัดลาดบัวขาว
หลวงพ่อเชื้อ วัดใหม่บำเพ็ญบุญ
หลวงพ่อแช่ม วัดฉลอง
หลวงพ่อแช่ม วัดนวลนรดิศวรวิหาร
หลวงพ่อแช่ม วัดดอนยายหอม
หลวงพ่อแช่ม วัดตาก้อง
หลวงพ่อโขติ วัดตะโน
พระธรรมวโรดม วัดพระปฐมเจดีย์
หลวงพ่อซวง วัดชีปะขาว
พระครูเนกขัมมาภิมณฑ์ วัดปากสะ
หลวงพ่อดิ่ง วัดบางวัว
หลวงพ่อดี วัดบ้านยาง
หลวงพ่อดี วัดเหนือ
หลวงปู่ดุลย์ วัดบูรพาราม
หลวงปู่ดู วัดสะแก
หลวงพ่อเดิม วัดหนองโพ
หลวงพ่อแดง วัดเขาบันไดอิฐ
หลวงพ่อแดง วัดศรีมหาโพธิ์
หลวงพ่อแดง วัดแหลมสอ
หลวงพ่อแดง วัดเชิงเขา
พระครูธรรมมิสรานุวัฒน์
หลวงพ่อดำ วัดมุจลินทวาปีวิหาร
หลวงพ่อตาด วัดบางวันทอง
หลวงพ่อตาบ วัดมะขามเรียง
พระอาจารย์ตื้อ วัดป่าอรัญญญวิเวก
หลวงปู่โต๊ะ วัดประดู่ฉิมพลี
สมเด็จพระพุฒาจารย์ (โต)
พระศรีวิสุทธิดิลก(โต)
พระศรีวิสุทธิดิลก(โต)
หลวงพ่อเต๊ วัดสามง่าม
สมเด็จพระพุฒาจารย์ ทัด วัดระฆัง
หลวงพ่อทบ วัดช้างเผือก
หลวงพ่อทับ วัดอนงคาราม
หลวงพ่อทัพ วัดทอง
หลวงปู่ทวด วัดช้างให้
หลวงพ่อทอง วัดดอนสะท้อน
หลวงปู่ทิม วัดละหารไร่
หลวงปู่ทิม วัดช้างให้
หลวงพ่อทา วัดพะนียงแตก
หลวงพ่อเทศน์ วัดพิชิตติดถาราม
หลวงปู่เทียน วัดโบสถ์
หลวงพ่อนนท์ วัดหนองโพธ์
พระยานรัตน์ราชมานิต
สมเด็จพุฒาจารย์ (นวม)
หลวงพ่อนอ วัดกลาง
อาจารย์นอง วัดทรายขาว
หลวงพ่อน้อย วัดศรีษะทอง
หลวงพ่อน้อย วัดธรรมศาลา
หลวงพ่อน้อย วัดส้มเสี้ยว
หลวงปู่นาค วัดหัวหิน
หลวงปู่นาค วัดระฆังโฆษิตาราม
หลวงพ่อนาค วัดอรุณฯ (แจ้ง)
หลวงปู่นาค วัดห้วยจระเข้
อาจารย์นำ วัดดอนศาลา
หลวงพ่อนุ่ม วัดนางในธัมมิการาม
หลวงพ่อท่านนุ้ย วัดอัมพาราม
หลวงพ่อเนียม วัดน้อย
หลวงพ่อเนียม วัดเสาธงทอง
หลวงพ่อเนื่อง วัดจุฬามณี
หลวงพ่อโหน่ง วัดคลองมะดัน
พระวินัยธร (บัว) วัดกลาง
พระอุปัชญาย์บ่าย วัดช่องลม
หลวงปู่บุญ วัดกลางบางแก้ว
หลวงพ่อบุญมี วัดเขาสมอคอน
หลวงบุตร วัดใหญ่บางปลากด
หลวงพ่อโบ้ย วัดมะนาว
หลวงพ่อปาน วัดบางนมโค
หลวงพ่อปานวัดมงคลโคธาวาส
หลวงพ่อเปี่ยม วัดเกาะหลัก
หลวงพ่อเปลี่ยน วัดใต้
หลวงพ่อเปิ่น วัดบางพระ
หลวงพ่อไป๋ วัดท่าหลวง
หลวงพ่อไปล่ วัดกำแพง
เจ้าคุณผล วัดหนัง
หลวงพ่อผาง วัดอุดมคงคาคิรีเขต
หลวงพ่อเผือก วัดกิ่งแก้ว
พระครูพร วัดดอนเมือง
หลวงพ่อพรหม วัดช่องแค
หลวงพ่อพริ้ง วัดแจ้ง
หลวงพ่อพริ้ง วัดบางปะกอก
หลวงพ่อพวง วัดหนองกระโน
หลวงพ่อพัฒน์ วัดใหม่พัฒนาราม
หลวงพ่อพัว วัดจันทร์ประดิษฐาราม
หลวงพ่อพิธ วัดฆะมัง
หลวงพ่อพุก วัดพระยาทำ
หลวงพ่อพุ่ม วัดบางโคล่
หลวงปู่เพิ่มวัดกลางบางแก้ว
หลวงพ่อแพ วัดพิกุลทอง
หลวงพ่อเผือก วัดโมลี
หลวงพ่อเพชร วัเวชิรปรดิษฐ์
หลวงพ่อเพชร วัดอัมพวัน
หลวงพ่อผึ้ง วัดรางบัว
หลวงพ่อภักกตร์ วัดบึงทองหลาง
หลวงปู่ภู วัดอินทรวิหาร
พระอาจารย์ ฝั้น วัดป่าอุดมสมพร
หลวงพ่อเภาวัดถ้ำตะโก
หลวงพ่อม่วง วัดบ้านทวน
ท่านเจ้ามา วัดสามปลื้ม
หลวงพ่อมาก วัดโตนด
หลวงพ่อมิ่ง วัดกก
หลวงพ่อบุญมี วัดอ่างแก้ว
หลวงพ่อมุ่ย วัดดอนไร่
หลวงพ่อมุ้ย วัดท้าวอู่ทอง
หลวงปู่เหมือน วัดนาวง
หลวงปู่เหมือน วัดกลางเหนือ
หลวงพ่อโม วัดไตรมิตรฯ
หลวงพ่อโม้วัดสน
หลวงพ่อยอดวัดหนองปลาหมอ
หลวงปู่ยิ้ม วัดศรีอุปลาราม
หลวงพ่อยิด วัดหนองจอก
หลวงพ่อแย้ม วัดด่านสำโรง
หลวงพ่อรุ่ง วัดท่ากระบือ
ครูบาศรีวิชัย วัดบ้านปาง
หลวงพ่อสงฆ์ วัดเจ้าฟ้าศาลาลอย
หลวงพ่อสด วัดปากน้ำ
หลวงพ่อสาย วัด อินทราราม
หลวงปู่สุข วัดโพธิ์ทรายทอง
หลวงพ่อเส็ง วัดประจันตคาม
หลวงพ่อเสน วัดบางโพ
พระครูจันทรสรคุณ วัดเสมาใหญ่
หลวงพ่อห่วง วัดท่าใน
หลวงปู่สิม วัดถ้ำผาปล่อง
หลวงปู่สี วัดสะแก
หลวงพ่อห้อง วัดช่องลม
หลวงพ่ออ่ำ วัดชีปะบาว
หลวงพ่ออินทร์ วัดสัตตนารถปริวัตร
หลวงพ่ออี๋ วัดสัตหีบ
หลวงพ่อเอี่ยม วัดสะพานสูง
หลวงปู่เอี่ยม วัดหนังราชวรวิหาร
พระอาจารย์เฮง ไพรวัลย์
หลวงพ่อเมี้ยน วัดคลองเตยใน
หลวงพ่อทิพย์ วัดโพธิ์ทอง
หลวงปู่ศุข วัดปากคลองมะขามเฒ่า
หลวงพ่อโอภาสีอาศรมบางมด
หลวงพ่อคง วัดสรรพรส
พระเกจิอื่นๆ
จตุคามรามเทพ
พระกรุต่าง
 

พระบรมสารีริกธาตุของพระอดีตพุทธเจ้า

พระบรมสารีริกธาตุของพระอดีตพุทธเจ้า

ขุททกนิกาย พุทธวงศ์ ในพระสุตตันตปิฎก กล่าวว่า พระพุทธองค์ได้ทรงแสดงพระพุทธประวัติของพระพุทธเจ้าไว้ 25 พระองค์ นับตั้งแต่พระทีปังกรพุทธเจ้าเป็นต้นมา โดยในช่วงท้ายของพระพุทธประวัติแต่ละพระองค์ กล่าวถึงลักษณะการประดิษฐานพระบรมสารีริกธาตุภายหลังพุทธปรินิพพาน เป็น 2 ลักษณะ คือ บางพระองค์ประดิษฐานพระบรมสารีริกธาตุไว้รวมกัน ณ ที่แห่งเดียว หรือ บางพระองค์พระบรมสารีริกธาตุกระจายไปประดิษฐานยังสถานที่ต่าง ๆ เพียงเท่านี้

จากการสืบค้นเพิ่มเติมใน อุปวานเถราปทาน ขุททกนิกาย อปทาน ภาค 2 (ฉบับมหามกุฏราชวิทยาลัย) และ อรรถกถา (วิสุทธชนวิลาสินี) มีการกล่าวถึงพระบรมสารีริกธาตุของพระปทุมุตรพุทธเจ้า ว่ามีลักษณะรวมกันเป็นก้อนเดียว มหาชนจึงสร้างพระสถูปประดิษฐานไว้ในที่แห่งเดียว แต่ในขณะที่ คัมภีร์มธุรัตถวิลาสินี (อรรถกถาขุททกนิกาย พุทธวงศ์ รจนาโดย พระพุทธทัตตะเถระ) กล่าวต่างออกไป ว่าพระบรมสารีริกธาตุของพระปทุมุตรพุทธเจ้ามีลักษณะกระจัดกระจาย แต่มหาชนร่วมกันสร้างสถูปประดิษฐานไว้ในสถานที่แห่งเดียว ส่วนพระบรมสารีริกธาตุของ พระโกณฑัญญพุทธเจ้า และ พระสิขีพุทธเจ้า กล่าวว่ามีลักษณะดำรงอยู่เป็นแท่งแท่งเดียว ดังรูปปฏิมาทอง

รายพระนามพระพุทธเจ้า พระชนมายุ และลักษณะการประดิษฐานพระบรมสารีริกธาตุ

ลำดับที่ พระนาม พระชนมายุ ลักษณะการประดิษฐานพระบรมธาตุ
1 พระทีปังกรพุทธเจ้า 100,000 ปี พระสถูปสูง 36 โยชน์ ประดิษฐาน ณ นันทาราม
2 พระโกณฑัญญพุทธเจ้า 100,000 ปี พระสถูปสูง 7 โยชน์ ประดิษฐาน ณ นันทาราม
3 พระมังคลพุทธเจ้า 90,000 ปี พระสถูปสูง 30 โยชน์ ประดิษฐาน ณ พระราชอุทยานเวสสระ
4 พระสุมนพุทธเจ้า 90,000 ปี พระสถูปสูง 4 โยชน์ ประดิษฐาน ณ อังคาราม
5 พระเรวตพุทธเจ้า 60,000 ปี พระบรมสารีริกธาตุของพระองค์แผ่กระจายไป
6 พระโสภิตพุทธเจ้า 90,000 ปี พระบรมสารีริกธาตุของพระองค์แผ่กระจายไป 
7 พระอโนมทัสสีพุทธเจ้า 100,000 ปี พระสถูปสูง 20 โยชน์ ประดิษฐาน ณ ธรรมาราม
8 พระปทุมพุทธเจ้า 100,000 ปี พระบรมสารีริกธาตุของพระองค์แผ่กระจายไป 
9 พระนารทพุทธเจ้า 90,000 ปี พระสถูปสูง 4 โยชน์ ประดิษฐาน ณ สุทัสนนคร
10 พระปทุมุตรพุทธเจ้า 100,000 ปี พระสถูปสูง 12 โยชน์ ประดิษฐาน ณ นันทาราม
11 พระสุเมธพุทธเจ้า 90,000 ปี พระบรมสารีริกธาตุของพระองค์แผ่กระจายไป
12 พระสุชาตพุทธเจ้า 90,000 ปี พระสถูปสูง 3 คาวุต ประดิษฐาน ณ เสลาราม
13 พระปิยทัสสีพุทธเจ้า 90,000 ปี พระสถูปสูง 3 โยชน์ ประดิษฐาน ณ อัสสัตถาราม
14 พระอัตถทัสสีพุทธเจ้า 100,000 ปี พระบรมสารีริกธาตุของพระองค์แผ่กระจายไป
15 พระธรรมทัสสีพุทธเจ้า 100,000 ปี พระสถูปสูง 3 โยชน์ ไม่กล่าวถึงสถานที่ประดิษฐาน
16 พระสิทธัตถพุทธเจ้า 100,000 ปี พระสถูปสูง 4 โยชน์ ประดิษฐาน ณ อโนมาราม
17 พระติสสพุทธเจ้า 100,000 ปี พระสถูปสูง 3 โยชน์ ประดิษฐาน ณ นันทาราม
18 พระปุสสพุทธเจ้า 90,000 ปี พระบรมสารีริกธาตุของพระองค์แผ่กระจายไป
19 พระวิปัสสีพุทธเจ้า 80,000 ปี พระสถูปสูง 7 โยชน์ ประดิษฐาน ณ สุมิตตาราม
20 พระสิขีพุทธเจ้า 70,000 ปี พระสถูปสูง 3 โยชน์ ประดิษฐาน ณ อัสสาราม
21 พระเวสสภูพุทธเจ้า 60,000 ปี พระบรมสารีริกธาตุของพระองค์แผ่กระจายไป
22 พระกกุสันธพุทธเจ้า 40,000 ปี พระสถูปสูง 1 คาวุต ประดิษฐาน ณ เขมาราม
23 พระโกนาคมนพุทธเจ้า 30,000 ปี พระบรมสารีริกธาตุของพระองค์แผ่กระจายไป
24 พระกัสสปพุทธเจ้า 20,000 ปี พระสถูปสูง 1 โยชน์ ประดิษฐาน ณ เสตัพยาราม
25 พระโคตมพุทธเจ้า 100 ปี พระบรมสารีริกธาตุของพระองค์แผ่กระจายไป
สรุปจาก: พระสุตตันตปิฎก ขุททกนิกายพุทธวงศ์ รัตนะจงกรมกัณฑ์

 ตำนานธาตุปรินิพพาน

คัมภีร์อรรถกถาหลายเล่ม ได้แก่ สุมังคลวิลาสินี ปปัญจสูทนี มโนรถปูรณี และ สัมโมหวิโนทนี ปรากฏตำนานที่เล่าขานสืบมาแต่ครั้งโบราณว่า การปรินิพพานจะปรากฏด้วยกัน 3 ครั้ง ครั้งแรกคือ กิเลสปรินิพพาน ปรากฏ ณ โพธิบัลลังก์เมื่อครั้งตรัสรู้ ครั้งที่ 2 คือ ขันธปรินิพพาน ปรากฏ ณ เมืองกุสินารา และครั้งสุดท้ายจะเกิดขึ้นในอนาคต คือ ธาตุปรินิพพาน เนื้อหาโดยรวมในแต่ละคัมภีร์มีความคล้ายคลึงกัน จะแตกต่างกันเพียงรายละเอียดเล็กน้อย ดังนี้

กล่าวกันว่า เมื่อถึงเวลาที่พระศาสนาเสื่อมถอยลง พระบรมสารีริกธาตุทุกพระองค์ไม่ว่าจะประดิษฐานอยู่ที่ใดก็ตาม จะเสด็จไปประชุมกันยังเกาะลังกา แล้วจึงเสด็จไปยังมหาเจดีย์(กล่าวกันว่า พระมหาเจดีย์องค์นี้ คือ พระสุวรรณมาลิกเจดีย์)จากมหาเจดีย์เสด็จต่อไปยังราชายตนเจดีย์ในนาคทวีป จากนั้นจึงเสด็จต่อไปยังมหาโพธิ์บัลลังก์สถานที่ตรัสรู้ (พุทธคยา)

ในคัมภีร์อรรถกถากล่าวต่อไปว่า องค์พระบรมสารีริกธาตุที่เคยประดิษฐานยังนาคพิภพ เทวโลก และ พรหมโลก เมื่อเสด็จไปรวมกันยังมหาโพธิบัลลังก์ที่ตรัสรู้ ก็รวมกันเป็นแท่งเดียวกันดุจแท่งทองคำหรือกองทองคำ เปล่งพระฉัพพรรณรังสี ไปทั่วหมื่นโลกธาตุ

ยกเว้นแต่คัมภีร์มโนรถปูรณี ที่กล่าวต่างไปว่า พระบรมสารีริกธาตุที่มาประชุมกัน จะแสดงเป็นองค์พระพุทธรูปนั่งขัดสมาธิ พระสรีระครบถ้วนด้วยมหาปุริสลักษณะและอนุพยัญชนะ จากนั้นจึงกระทำยมกปาฏิหาริย์แสดง

ในตำนานกล่าวไว้ว่า ไม่มีมนุษย์คนใดเข้าไปในสถานที่แห่งนั้น แต่เทวดาทั้งหลายในหมื่นจักรวาฬจะมาประชุมกันทั้งหมด คร่ำครวญว่า พระศาสดาจะปรินิพพานวันนี้ พระศาสนาจะเสื่อมถอย การเห็นของพวกเรานี้ เป็นการเห็นครั้งสุดท้าย เมื่อถึงเวลาสิ้นสุดพระศาสนา เตโชธาตุลุงโพลงขึ้นจากพระสรีรธาตุ เปลวเพลิงพวยพุ่งไปถึงพรหมโลก และดับลงเมื่อพระบรมสารีริกธาตุหมดสิ้นไปไม่เหลือแม้เท่าเมล็ดผักกาด หลังจากนั้นหมู่เทพทำการสักการะด้วยของหอม ดอกไม้และดนตรีทิพย์ ดังเช่นในวันปรินิพพาน กระทำประทักษิณ 3 รอบ ถวายบังคม แล้วจึงกลับสู่วิมานของตน

Untitled Document


บทความพระเครื่อง ตำนาน เรื่องเล่า


พระขุนแผนมหาจินดามณี รุ่นมหาจินดามณี พ.ศ. ๒๕๕๐
“ไจยะเบงชร” (ชินบัญชรล้านนา)
ตำนานการเกิดพระบรมสารีริกธาตุ
พระบรมสารีริกธาตุของพระอดีตพุทธเจ้า
เรื่องจริงที่ไม่ใช่ตำนานของพญานาค
หลวงปู่ชื่น ติคญาโณ เทพเจ้าแห่งความเมตตา และโชคลาภ
เรื่องจริงไม่อิงนิยาย ของขุนช้าง-ขุนแผน
ประวัติ หลวงปู่ศรี มหาวีโร วัดป่ากุง
ปัจจัยประกอบของราคาพระมีอะไรบ้าง
ร้านพระเครื่องออนไลน์ ให้เช่าพระเครื่อง สะดวกปลอดภัยหรือไม่
หลวงปู่ทวด ภ.ป.ร. พระดีน่าสะสม โดยพุทธสมาคม
พระเครื่องล้านนา รวมพระล้านนาที่นิยมโดยเฉพาะ พระกรุล้านนา
พระเครื่อง เหรียญหลวงพ่อคูณ วัดบ้านไร่ ราคาสูงมาก
ข้อมูลพระเครื่อง สำหรับผู้นิยมสะสมพระ
พระสมเด็จบางขุนพรหม พิมพ์ใหญ่
พระสมเด็จวัดบางขุนพรหม สมเด็จพระพุฒาจารย์ (โต) พรหมรังษี
เหรียญมหาลาภ หลวงพ่อพรหม วัดช่องแค จ.นครสวรรค์
เหรียญหลวงพ่อหรุ่น เก้ายอด วัดอัมพวัน
เหรียญหลวงปู่จันทร์ วัดศรีเทพ รุ่นแรก ปี 2500
พระบูชาหลวงพ่อโสธร ปี 2497

โหราศาสตร์ไทย

** เว็บไซต์dooasia:พระเครื่องจัดทำขึ้นด้วยศรัทธา ไม่ได้มีจุดประสงค์เพื่อการค้าหรือหากำไร เราทำเพื่อให้ประชาชนได้ศึกษาหาความรู้ **
 

ขอขอบคุณข้อมูลจาก :
1.หนังสือ สารานุกรม พระคณาจารย์ยอดนิยม พร้อมการสร้างวัตถุมงคล โดยสำนักพิมพ์คเณพรศ์
2.หนังสือปทานุกรม พระรอด โดย ศ.อรรคเดช กฤณะดิลก
3.หนังสือปทานุกรมพระนางพญา พระนางพญา โดย ศ.อรรคเดช กฤษณะดิลก
4.หนังสือเหรียญหล่อยอดนิยม โดยศึกษาและสะสม ฉบับพิเศษ
5.หนังสือจตุคามรามเทพ 2530-2549 โดย นายพงษ์ภักดี พัฒนกุล
6.หนังสือจตุคามรามเทพ 1 โดยคุณวัชรพงศ์ ระดมสิทธิพัฒน์(อุ๊ กรุงสยาม)
7.หนังสือ จตุคามรามเทพยอดนิยม โดยคุณเขมณัฐ์ หล่อศรีสกุล
8.หนังสือจตุคามรามเทพ โดยคุณณัฐธยาน์ หล่อศรีศุภชัย
9.หนังสือ พระปิดตามหามงคล โดยทีมงานพระเครื่องพระพุทธบาท
10.หนังสือ พระเครื่องล้ำค่า (พระประกวด ปี 2548)

Copyright 2010 © สัญญาอนุญาตของครีเอทีฟคอมมอนส์ www.dooasia.com/Prathai