dooasia : ดูเอเซีย   รวมเว็บ           เรื่องน่ารู้ของสยาม   สิ่งน่าสนใจ  

พระเนื้อดิน  พระเนื้อชิน  พระเนื้อผง  พระกรุเนื้อดิน  พระกรุเนื้อชิน  พระกรุเนื้อผง  พระปิดตา  พระเหรียญ  พระเหรียญหล่อ  พระประกวด
พระพุทธชินราช  พระกริ่ง พระชัยวัฒน์  พระรูปหล่อ  พระผงสุริยัน- จันทรา  จตุคามรามเทพ  เครื่องราง - รูปถ่าย - ล็อคเกต
พระรอด.คอม ดูพระแท้

   
หน้าแรกดูเอเซีย.คอม
รถตู้เชียงใหม่
กล้องวงจรปิด

หวยงวดล่าสุด!!


 
Loading...

ดูพระแท้
รถตู้เชียงใหม่

เว็บบอร์ดพระเครื่องเมืองไทย

หลวงพ่อแก้ววัดเครือวัลย์ ชลบุรี
หลวงพ่อกลั่น วัดพระญาติการาม
หลวงพ่อกกล่อมวัดโพธาวาส
หลวงพ่อแก้ววัดพวงมาลัย
หลวงพ่อเกษม เขมโก
หลวงปู่กลิ่น วัดสะพานสูง
หลวงพ่อก๋ง วัดเขาสมอคอน
หลวงพ่อกวยวัดโฆสิตาราม
พระอุปัชฌากรัก วัดอัมพวัน
หลวงพ่อกึ๋น วัดดอน
หลวงปู่กลีบ วัดตลิ่งชัน
พระครูนิสิตคุณากร (กัน)
หลวงพ่อเกิด วัดบางเดื่อ
หลวงปู่แก้ว วัดช่องลม
หลวงปู่ไข่ วัดเชิงเลน
หลวงปู่ไข่วัดบางเลน
หลวงพ่อขัน วัดนกกระจาบ
หลวงปู่เขียว วัดหรงบล
หลวงพ่อเขียน วัดสำนักขุนเณร
หลวงปู่ขาว วัดถ้ำกองเพล
หลวงปู่ขาว วัดหลักสี่
หลวงปู่ขำ วัดแก้ว
หลวงพ่อขำ วัดปราสาทนิกร
พระสมุห์ขิง วัดกลาง
พระอุปัชฌาเข็ม วัดม่วง
หลวงพ่อคง วัดบางกะพร้อม
หลวงพ่อคง วัดซำป่างาม
หลวงพ่อครน วัดบางแซะ
หลวงพ่อคูณ วัดบ้านไร่
หลวงพ่อคล้ายวัดสวนขัน
หลวงพ่อคลิ้ง วัดถลุงทอง
หลวงพ่อเงินวัดบางคลาน
หลวงพ่อเงินวัดท้ายตลาด
หลวงพ่อเงิน วัดดอนยายหอม
หลวงพ่อเงินวัดอินทรวิหาร
หลวงพ่อจง วัดหน้าต่างนอก
หลวงพ่อจาด วัดบางกระเบา
พระพุทธวิริยากร วัดสัตตนารท
หลวงปู่จีนวัดท่าลาด
หลวงปู่เจียมวัดกำแพง
สมเด็จพระญานวรเถร
สมเด็จ ม.ร.ว.เจริญอิศรางกูร
หลวงปู่จันทร์วัดนางหนู
หลวงปู่จัน วัดโมลี
หลวงปู่จันทร์ วัดบ้านยาง
หลวงปู่จันทร์ วัดศรีเทพ
พระอุบาลีคุณูปมาจารย์
หลวงพ่อจั่น วัดบางมอญ
หลวงปู่ใจ วัดเสด็จ
พระญานไตรโลก(ฉาย)
หลวงพ่อฉุย วัดคงคาราม
หลวงพ่อแฉ่ง วัดศรีรัตนาราม
หลวงพ่อฉ่ำ วัดท้องคุ้ง
หลวงปู่ชา วัดหนองป่าพง
หลวงพ่อช้าง วัดเขียนเขต
หลวงปู่ช่วง วัดบางแพรกใต้
หลวงพ่อช่วง วัดปากน้ำ
หลวงปู่ชอบ วัดป่าสัมมนานุสรณ์
กรมหลวงชินวร สิริวัฒน์
กรมหลวงวชิรญานวงค์ วัดบวรฯ
พระสังวรานุวงค์เถร(ชุ่ม) (พลับ)
พระอธิการชู วัดนาคปรก
หลวงพ่อเชย วัดเจษฎาราม
หลวงพ่อเชย วัดท่าควาย
หลวงพ่อเชิดวัดลาดบัวขาว
หลวงพ่อเชื้อ วัดใหม่บำเพ็ญบุญ
หลวงพ่อแช่ม วัดฉลอง
หลวงพ่อแช่ม วัดนวลนรดิศวรวิหาร
หลวงพ่อแช่ม วัดดอนยายหอม
หลวงพ่อแช่ม วัดตาก้อง
หลวงพ่อโขติ วัดตะโน
พระธรรมวโรดม วัดพระปฐมเจดีย์
หลวงพ่อซวง วัดชีปะขาว
พระครูเนกขัมมาภิมณฑ์ วัดปากสะ
หลวงพ่อดิ่ง วัดบางวัว
หลวงพ่อดี วัดบ้านยาง
หลวงพ่อดี วัดเหนือ
หลวงปู่ดุลย์ วัดบูรพาราม
หลวงปู่ดู วัดสะแก
หลวงพ่อเดิม วัดหนองโพ
หลวงพ่อแดง วัดเขาบันไดอิฐ
หลวงพ่อแดง วัดศรีมหาโพธิ์
หลวงพ่อแดง วัดแหลมสอ
หลวงพ่อแดง วัดเชิงเขา
พระครูธรรมมิสรานุวัฒน์
หลวงพ่อดำ วัดมุจลินทวาปีวิหาร
หลวงพ่อตาด วัดบางวันทอง
หลวงพ่อตาบ วัดมะขามเรียง
พระอาจารย์ตื้อ วัดป่าอรัญญญวิเวก
หลวงปู่โต๊ะ วัดประดู่ฉิมพลี
สมเด็จพระพุฒาจารย์ (โต)
พระศรีวิสุทธิดิลก(โต)
พระศรีวิสุทธิดิลก(โต)
หลวงพ่อเต๊ วัดสามง่าม
สมเด็จพระพุฒาจารย์ ทัด วัดระฆัง
หลวงพ่อทบ วัดช้างเผือก
หลวงพ่อทับ วัดอนงคาราม
หลวงพ่อทัพ วัดทอง
หลวงปู่ทวด วัดช้างให้
หลวงพ่อทอง วัดดอนสะท้อน
หลวงปู่ทิม วัดละหารไร่
หลวงปู่ทิม วัดช้างให้
หลวงพ่อทา วัดพะนียงแตก
หลวงพ่อเทศน์ วัดพิชิตติดถาราม
หลวงปู่เทียน วัดโบสถ์
หลวงพ่อนนท์ วัดหนองโพธ์
พระยานรัตน์ราชมานิต
สมเด็จพุฒาจารย์ (นวม)
หลวงพ่อนอ วัดกลาง
อาจารย์นอง วัดทรายขาว
หลวงพ่อน้อย วัดศรีษะทอง
หลวงพ่อน้อย วัดธรรมศาลา
หลวงพ่อน้อย วัดส้มเสี้ยว
หลวงปู่นาค วัดหัวหิน
หลวงปู่นาค วัดระฆังโฆษิตาราม
หลวงพ่อนาค วัดอรุณฯ (แจ้ง)
หลวงปู่นาค วัดห้วยจระเข้
อาจารย์นำ วัดดอนศาลา
หลวงพ่อนุ่ม วัดนางในธัมมิการาม
หลวงพ่อท่านนุ้ย วัดอัมพาราม
หลวงพ่อเนียม วัดน้อย
หลวงพ่อเนียม วัดเสาธงทอง
หลวงพ่อเนื่อง วัดจุฬามณี
หลวงพ่อโหน่ง วัดคลองมะดัน
พระวินัยธร (บัว) วัดกลาง
พระอุปัชญาย์บ่าย วัดช่องลม
หลวงปู่บุญ วัดกลางบางแก้ว
หลวงพ่อบุญมี วัดเขาสมอคอน
หลวงบุตร วัดใหญ่บางปลากด
หลวงพ่อโบ้ย วัดมะนาว
หลวงพ่อปาน วัดบางนมโค
หลวงพ่อปานวัดมงคลโคธาวาส
หลวงพ่อเปี่ยม วัดเกาะหลัก
หลวงพ่อเปลี่ยน วัดใต้
หลวงพ่อเปิ่น วัดบางพระ
หลวงพ่อไป๋ วัดท่าหลวง
หลวงพ่อไปล่ วัดกำแพง
เจ้าคุณผล วัดหนัง
หลวงพ่อผาง วัดอุดมคงคาคิรีเขต
หลวงพ่อเผือก วัดกิ่งแก้ว
พระครูพร วัดดอนเมือง
หลวงพ่อพรหม วัดช่องแค
หลวงพ่อพริ้ง วัดแจ้ง
หลวงพ่อพริ้ง วัดบางปะกอก
หลวงพ่อพวง วัดหนองกระโน
หลวงพ่อพัฒน์ วัดใหม่พัฒนาราม
หลวงพ่อพัว วัดจันทร์ประดิษฐาราม
หลวงพ่อพิธ วัดฆะมัง
หลวงพ่อพุก วัดพระยาทำ
หลวงพ่อพุ่ม วัดบางโคล่
หลวงปู่เพิ่มวัดกลางบางแก้ว
หลวงพ่อแพ วัดพิกุลทอง
หลวงพ่อเผือก วัดโมลี
หลวงพ่อเพชร วัเวชิรปรดิษฐ์
หลวงพ่อเพชร วัดอัมพวัน
หลวงพ่อผึ้ง วัดรางบัว
หลวงพ่อภักกตร์ วัดบึงทองหลาง
หลวงปู่ภู วัดอินทรวิหาร
พระอาจารย์ ฝั้น วัดป่าอุดมสมพร
หลวงพ่อเภาวัดถ้ำตะโก
หลวงพ่อม่วง วัดบ้านทวน
ท่านเจ้ามา วัดสามปลื้ม
หลวงพ่อมาก วัดโตนด
หลวงพ่อมิ่ง วัดกก
หลวงพ่อบุญมี วัดอ่างแก้ว
หลวงพ่อมุ่ย วัดดอนไร่
หลวงพ่อมุ้ย วัดท้าวอู่ทอง
หลวงปู่เหมือน วัดนาวง
หลวงปู่เหมือน วัดกลางเหนือ
หลวงพ่อโม วัดไตรมิตรฯ
หลวงพ่อโม้วัดสน
หลวงพ่อยอดวัดหนองปลาหมอ
หลวงปู่ยิ้ม วัดศรีอุปลาราม
หลวงพ่อยิด วัดหนองจอก
หลวงพ่อแย้ม วัดด่านสำโรง
หลวงพ่อรุ่ง วัดท่ากระบือ
ครูบาศรีวิชัย วัดบ้านปาง
หลวงพ่อสงฆ์ วัดเจ้าฟ้าศาลาลอย
หลวงพ่อสด วัดปากน้ำ
หลวงพ่อสาย วัด อินทราราม
หลวงปู่สุข วัดโพธิ์ทรายทอง
หลวงพ่อเส็ง วัดประจันตคาม
หลวงพ่อเสน วัดบางโพ
พระครูจันทรสรคุณ วัดเสมาใหญ่
หลวงพ่อห่วง วัดท่าใน
หลวงปู่สิม วัดถ้ำผาปล่อง
หลวงปู่สี วัดสะแก
หลวงพ่อห้อง วัดช่องลม
หลวงพ่ออ่ำ วัดชีปะบาว
หลวงพ่ออินทร์ วัดสัตตนารถปริวัตร
หลวงพ่ออี๋ วัดสัตหีบ
หลวงพ่อเอี่ยม วัดสะพานสูง
หลวงปู่เอี่ยม วัดหนังราชวรวิหาร
พระอาจารย์เฮง ไพรวัลย์
หลวงพ่อเมี้ยน วัดคลองเตยใน
หลวงพ่อทิพย์ วัดโพธิ์ทอง
หลวงปู่ศุข วัดปากคลองมะขามเฒ่า
หลวงพ่อโอภาสีอาศรมบางมด
หลวงพ่อคง วัดสรรพรส
พระเกจิอื่นๆ
จตุคามรามเทพ
พระกรุต่าง
 

พระสมเด็จวัดบางขุนพรหม สมเด็จพระพุฒาจารย์ (โต) พรหมรังษี

พระสมเด็จวัดบางขุนพรหม กรุงเทพมหานคร ซึ่งเป็นพระพิมพ์ที่ สมเด็จพระพุฒาจารย์ (โต) พรหมรังษี ท่านสร้างและบรรจุ"พระสมเด็จบางขุนพรหม"ไว้ในองค์พระเจดีย์ที่วัดบางขุนพรหม เมื่อประมาณ พ.ศ.2413

วัดบางขุนพรหม เป็นวัดเก่าแก่มีมาแต่ครั้งกรุงธนบุรี ต่อมาในสมัยรัตนโกสินทร์ได้เปลี่ยนชื่อมาเป็น "วัดวรามะตาราม" แปลว่า วัดที่เจริญไม่รู้เสื่อม และเปลี่ยนชื่อใหม่อีกครั้งเป็น "วัดใหม่อมตรส" แต่ชาวบ้านก็ยังเรียกชื่อว่า วัดบางขุนพรหมใน ส่วนวัดบางขุนพรหมนอก นั้นก็คือ วัดอินทรวิหาร

ในปลายสมัยรัชกาลที่ 4 เสมียนตราด้วง ผู้เป็นต้นสกุลธนโกเศศ ได้บูรณปฏิสังขรณ์วัดขึ้นใหม่ในปีพ.ศ.2411 และได้สร้างพระเจดีย์ใหญ่เจดีย์เล็กขึ้นไว้ เสมียนตราด้วงได้อาราธนา เจ้าประคุณสมเด็จพระพุฒาจารย์ โต พรหมรังสี เพื่อทำพิธีสร้างพระสมเด็จ เพื่อบรรจุไว้ในพระเจดีย์ประธาน เพื่อบรรจุไว้ในพระเจดีย์เป็น “อุเทสิกเจดีย์” (สิ่งที่ระลึกถึงพระพุทธเจ้า) ตามคติของคนโบราณ ในการสร้างพระสมเด็จบางขุนพรหมนั้น เสมียนตราด้วงได้อาราธนาเจ้าประคุณสมเด็จฯ ไปทำพิธีการสร้างที่วัดอินทรวิหาร และเจ้าประคุณสมเด็จฯ ได้รับอาราธนาให้แสดงธรรมเทศนาในวันนั้นด้วย ทั้งได้มีการทำบุญถวายเพลพระที่เข้าพิธี การโขลกเนื้อพระได้กระทำต่อหน้าเจ้าประคุณสมเด็จฯ และเจ้าประคุณสมเด็จฯ ได้โรยผงวิเศษห้าประการลงไปยังส่วนผสมภายในครกต่างๆ เช่นเดียวกับการสร้างที่วัดระฆังฯ ทุกประการ เมื่อสร้างเสร็จได้นำไปบรรจุไว้ในพระเจดีย์องค์ประธานหลังพระอุโบสถ ประมาณปีพ.ศ.2413

พระสมเด็จกรุวัดบางขุนพรหม เท่าที่พบมีทั้งหมด 10 พิมพ์คือ
1. พระสมเด็จบางขุนพรหม พิมพ์ใหญ่
2. พระสมเด็จบางขุนพรหม พิมพ์ทรงเจดีย์
3. พระสมเด็จบางขุนพรหม พิมพ์เกศบัวตูม
4. พระสมเด็จบางขุนพรหม พิมพ์ฐานแซม
5. พระสมเด็จบางขุนพรหม พิมพ์ปรกโพธิ์ (มีน้อย)
ห้าพิมพ์ทรงข้างต้นนี้ตรงกับพิมพ์ของพระสมเด็จฯ วัดระฆังฯ และยังมีพิมพ์อื่นเพิ่มขึ้นอีก 4 พิมพ์ทรง คือ
6. พิมพ์ฐานคู่
7. พิมพ์สังฆาฏิ
8. พิมพ์เส้นด้าย
9. พิมพ์อกครุฑ
10. พิมพ์ไสยยาสน์

เนื้อพระสมเด็จกรุวัดบางขุนพรหม
เนื้อพระของพระสมเด็จฯ บางขุนพรหม ส่วนใหญ่เป็น เนื้อสีขาวและขาวอมเหลือง หนึกแกร่ง มีฝ้ากรุฉาบโดยทั่วไป เนื้อพระเป็นชนิดมีคราบและมีฝ้า อย่างที่เรียกกันทั่ว ๆ ไปว่า “สนิมกรุ หรือคราบกรุ” คราบนี้มีสีขาวหรือค่อนข้างขาวติดแนบแน่นอยู่บนพื้นผิวขององค์พระ ขี้กรุของพระบางองค์มีสีน้ำตาลเข้ม บางองค์คราบกรุบาง บางองค์คราบกรุหนา เมื่อใช้ไปนาน ๆ หรือถูกสัมผัสมากผิวจะเกิดมันละเลื่อมขึ้น

มวลสารของพระสมเด็จฯ บางขุนพรหม
เนื้อหาพระสมเด็จส่วนใหญ่เป็นปูนขาว เพื่อสร้างพระได้จำนวนมาก (ประมาณวัสดุ) ซึ่งเป็นปูนเปลือกหอย อันเป็นคำยืนยันจากพระธรรมถาวร (ช่วง) ลูกศิษย์ของสมเด็จฯ เนื้อปูนที่ท่านเอามาตำและร่อนจนมีเนื้อนุ่มละเอียด นอกจากนั้นท่านว่ามีส่วนผสมเป็นข้าวสุก เนื้อกล้วย ตัวประสานเป็นน้ำมันตังอิ๊ว เพื่อไม่ให้พระแตกร้าวอีกด้วย นอกจากนั้นเป็นมวลสารที่เป็นวัตถุมงคล (อิทธิวัสดุ) ซึ่งแบ่งเป็น 7 อย่างคือ

1. ผงวิเศษ 5 ประการ คือ ผงปถมัง อิทธิเจ มหาราช พุทธคุณ และตรีนิสิงเห
2. ผงใบลานเผา
3. เกสรดอกไม้
4. ว่าน
5. ทรายเงินทรายทอง
6. เถ้าธูป
7. น้ำมันจันทน์

การปลุกเสกพระสมเด็จบางขุนพรหม
คาถาปลุกเสก พระสมเด็จฯ ที่สร้างเสร็จแล้ว ท่านจะนำไปใส่ภาชนะไว้บนหอสวดมนต์และปลุกเสกทุกวัน คาถาที่ท่านเจ้าประคุณสมเด็จพระพุฒาจารย์ (โต) พรหมรังษี ใช้ปลุกเสกนอกจากมีบทสวดอื่นแล้ว บทสวดที่มีชื่อมากคือ “พระคาถาชินบัญชร” ซึ่งเป็นพระคาถาเก่ามีมาแต่โบราณ (ประเทศศรีลังกาก็มี) โดยท่านเจ้าประคุณสมเด็จฯ ได้เรียบเรียงขึ้นใหม่ให้มีความกระทัดรัดและเหมาะสมขึ้น ปัจจุบันนิยมสวดกันทั่วไปในประเทศไทย

การเปิดกรุพระสมเด็จบางขุนพรหม ได้มีบันทึกไว้ว่าเปิดกรุครั้งแรกในปี พ.ศ.2436 ครั้งหลังในปีพ.ศ.2459 พระสมเด็จบางขุนพรหมที่ได้จากกรุ ทั้งสองครั้งเรียกว่าพระสมเด็จกรุเก่า ต่อมาในปี พ.ศ.2500 ได้มีผู้ลักลอบขุดเจาะเจดีย์ ได้พระสมเด็จออกไปเป็นจำนวนมาก ทางวัดทราบเรื่องจึงได้ทำการเปิดกรุนำพระสมเด็จออกมาทั้งหมด เพื่อให้เช่าบูชา โดยประกาศว่าจะนำเงินมาบูรณะวัด กรุครั้งหลังสุดนี้เรียกว่าพระสมเด็จบางขุนพรหมกรุใหม่

รายละเอียดการเปิดกรุ พ.ศ.2500 (พระสมเด็จบางขุนพรหม เปิดกรุอย่างเป็นทางการ)
รายละเอียดการเปิดกรุพระสมเด็จฯ วัดบางขุนพรหม ได้มาจากการสัมภาษณ์ท่านพระครูบริหารคุณวัตร รองเจ้าอาวาสวัดใหม่อมตรส เมื่อวันที่ 2 ตุลาคม พ.ศ.2507 โดยคุณเทพชู ทับทอง พิมพ์อยู่ในหนังสือ “พระเครื่องและพระบูชาพระกรุเก้าวัด” มีรายละเอียดบางตอนว่า “การเปิดได้กระทำในวันที่ 24 พฤศจิกายน พ.ศ.2500 โดยมี พลเอกประภาส จารุเสถียร รองนายกรัฐมนตรี และรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย ซึ่งขณะนั้นดำรงตำแหน่งรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย เป็นประธานกรรมการเปิดกรุ
  
มีอธิบดีกรมศาสนา เจ้าคณะจังหวัด เจ้าคณะอำเภอ ตำรวจ ทหาร ร่วมด้วยในพิธีนี้ พอรุ่งขึ้นวันที่ 25 พฤศจิกายน คณะกรรมการก็ได้ทำการนับจำนวนพระที่ขุดได้ ปรากฏว่าได้พระสมเด็จ (ที่สมบูรณ์) ทั้งหมด 2,950 องค์ นอกจากนั้นก็ได้พระสมเด็จตะกั่วถ้ำชา 1 องค์ สำหรับตะกรุดคงเป็นของคนสมัยนั้นนำเอามาบรรจุไว้ด้วย ส่วนพระสมเด็จที่หักชำรุดมีมากมายพระที่ได้ขึ้นมาในครั้งนั้นเรียกว่า “พระกรุใหม่” ส่วนพระสมเด็จฯ ที่ถูกลักลอบนำออกมาก่อนหน้านั้น เรียกกันว่า “พระกรุเก่า” ซึ่งความจริงเป็นพระขึ้นมาจากกรุเดียวกันนั่นเอง เพียงแต่ระยะเวลาออกมาไม่พร้อมกัน

พุทธคุณพระสมเด็จวัดบางขุนพรหม
การที่พระสมเด็จฯ เป็นที่นิยมก็คงจะเนื่องจากคุณวิเศษที่คนบูชาได้ประจักษ์กับตนเอง จนเป็นที่โจษขานกันปากต่อปาก ทำให้พระสมเด็จฯ เป็นที่ต้องการของผู้คน ดังที่เห็นกันอยู่ในปัจจุบัน คุณประชา ศรีวิญญานนท์ หรือที่รู้จักกันในนามว่า “เปงย้ง ตลาดพลู” นักเล่นพระรุ่นเก่าที่มีชื่อเสียง ก็เคยประจักษ์ในพระพุทธคุณของพระสมเด็จฯ วัดบางขุนพรหม โดยได้ให้คำสัมภาษณ์ (ในหนังสือ Spirit Vol. 1 No. 1 Nov.-Dec 2003 หน้า 104) มีข้อความน่าสนใจว่า“พระองค์แรกที่เช่าเองและเป็นองค์ที่ภูมิใจที่สุดทุก วันนี้ก็ยังเก็บไว้อยู่เลยก็คือ พระสมเด็จฯ บางขุนพรหม พิมพ์อกครุฑ กรุเก่าซึ่งได้มาจากเพื่อนและเพื่อนก็ได้มาจากลุงของเขา เพราะลุงของเพื่อนสะสมพระเยอะ และเพื่อนคนนั้นเผอิญมีอยู่ช่างหนึ่งเขาขาดเงิน
  
จึงเอาพระสมเด็จฯ ที่ห้อยคออยู่มาขอจำนำไว้ 500 บาท หลังจากนั้นได้นำพระองค์นี้เข้าไปในสนามพระเครื่อง เซียนพระขอเช่าในราคา 300 บาท แสดงว่าแท้แน่นอน จึงพยายามขอซื้อจากเพื่อนคนนี้อยู่นานจนตอนหลังขาดจำนำจึงได้เก็บไว้ และพระองค์นี้มีประวัติ มีประสบการณ์ โดยเรื่องเกี่ยวกับท้องร่วงท้องเสีย ผมท้องเสีย เลยเอาพระไปแช่น้ำและไหว้ขอพรจากองค์พระแล้วก็ดื่มน้ำแก้วนั้น ไม่น่าเชื่อหายเป็นปลิดทิ้ง พระองค์นี้เดิมเจ้าของคือลุงมาขายให้หลานซึ่งเป็นเพื่อนผมแล้วก็หมดตัวเลย พอเพื่อนคนนั้นเอามาขายให้ผมเพื่อนคนนั้นก็ติดคุก ผมเลยไม่กล้าขายให้ใครเลย จะให้ผมกี่ล้านก็ไม่ขาย ก็ใช้บูชาติดตัวมาจนทุกวันนี้”ข้างต้นนี้เป็นตัวอย่างหนึ่งของพระพุทธคุณของ สมเด็จฯ วัดบางขุนพรหม ซึ่งมีเรื่องเล่ามามากมาย ด้วยเหตุนี้เอง พระสมเด็จฯ จึงเป็นที่ต้องการของผู้คนทั่วไป ...ข้อมูลโดย หม่อมราชวงศ์อภิเดช อาภากร 

พระเครื่องพระสมเด็จบางขุนพรหม ถือว่าเป็นสุดยอดพระเครื่อง ของผู้นิยมสะสมพระเครื่อง

Untitled Document


บทความพระเครื่อง ตำนาน เรื่องเล่า


พระขุนแผนมหาจินดามณี รุ่นมหาจินดามณี พ.ศ. ๒๕๕๐
“ไจยะเบงชร” (ชินบัญชรล้านนา)
ตำนานการเกิดพระบรมสารีริกธาตุ
พระบรมสารีริกธาตุของพระอดีตพุทธเจ้า
เรื่องจริงที่ไม่ใช่ตำนานของพญานาค
หลวงปู่ชื่น ติคญาโณ เทพเจ้าแห่งความเมตตา และโชคลาภ
เรื่องจริงไม่อิงนิยาย ของขุนช้าง-ขุนแผน
ประวัติ หลวงปู่ศรี มหาวีโร วัดป่ากุง
ปัจจัยประกอบของราคาพระมีอะไรบ้าง
ร้านพระเครื่องออนไลน์ ให้เช่าพระเครื่อง สะดวกปลอดภัยหรือไม่
หลวงปู่ทวด ภ.ป.ร. พระดีน่าสะสม โดยพุทธสมาคม
พระเครื่องล้านนา รวมพระล้านนาที่นิยมโดยเฉพาะ พระกรุล้านนา
พระเครื่อง เหรียญหลวงพ่อคูณ วัดบ้านไร่ ราคาสูงมาก
ข้อมูลพระเครื่อง สำหรับผู้นิยมสะสมพระ
พระสมเด็จบางขุนพรหม พิมพ์ใหญ่
พระสมเด็จวัดบางขุนพรหม สมเด็จพระพุฒาจารย์ (โต) พรหมรังษี
เหรียญมหาลาภ หลวงพ่อพรหม วัดช่องแค จ.นครสวรรค์
เหรียญหลวงพ่อหรุ่น เก้ายอด วัดอัมพวัน
เหรียญหลวงปู่จันทร์ วัดศรีเทพ รุ่นแรก ปี 2500
พระบูชาหลวงพ่อโสธร ปี 2497

โหราศาสตร์ไทย

** เว็บไซต์dooasia:พระเครื่องจัดทำขึ้นด้วยศรัทธา ไม่ได้มีจุดประสงค์เพื่อการค้าหรือหากำไร เราทำเพื่อให้ประชาชนได้ศึกษาหาความรู้ **
 

ขอขอบคุณข้อมูลจาก :
1.หนังสือ สารานุกรม พระคณาจารย์ยอดนิยม พร้อมการสร้างวัตถุมงคล โดยสำนักพิมพ์คเณพรศ์
2.หนังสือปทานุกรม พระรอด โดย ศ.อรรคเดช กฤณะดิลก
3.หนังสือปทานุกรมพระนางพญา พระนางพญา โดย ศ.อรรคเดช กฤษณะดิลก
4.หนังสือเหรียญหล่อยอดนิยม โดยศึกษาและสะสม ฉบับพิเศษ
5.หนังสือจตุคามรามเทพ 2530-2549 โดย นายพงษ์ภักดี พัฒนกุล
6.หนังสือจตุคามรามเทพ 1 โดยคุณวัชรพงศ์ ระดมสิทธิพัฒน์(อุ๊ กรุงสยาม)
7.หนังสือ จตุคามรามเทพยอดนิยม โดยคุณเขมณัฐ์ หล่อศรีสกุล
8.หนังสือจตุคามรามเทพ โดยคุณณัฐธยาน์ หล่อศรีศุภชัย
9.หนังสือ พระปิดตามหามงคล โดยทีมงานพระเครื่องพระพุทธบาท
10.หนังสือ พระเครื่องล้ำค่า (พระประกวด ปี 2548)

Copyright 2010 © สัญญาอนุญาตของครีเอทีฟคอมมอนส์ www.dooasia.com/Prathai