ท่องเที่ยว || เพิ่มข้อมูลสถานที่ท่องเที่ยว|| ดูดวงตำราไทย|| อ่านบทละคร|| เกมส์คลายเครียด|| วิทยุออนไลน์ || ดูทีวี|| ท็อปเชียงใหม่ || รถตู้เชียงใหม่
  dooasia : ดูเอเซีย   รวมเว็บ   บอร์ด     เรื่องน่ารู้ของสยาม   สิ่งน่าสนใจ  
 
สำหรับนักท่องเที่ยว
ตรวจสอบระยะทาง
แผนที่ 77 จังหวัด
คู่มือ 77 จังหวัด(PDF)
จองโรงแรม
ข้อมูลโรงแรม
เส้นทางท่องเที่ยว(PDF)
ข้อมูลวีซ่า
จองตั๋วเครื่องบิน
จองตั๋วรถทัวร์
ทัวร์ต่างประเทศ
รถเช่า
197 ประเทศทั่วโลก
แลกเปลี่ยนเงินสากล
ซื้อหนังสือท่องเทียว
dooasia.com แนะนำ
  เที่ยวหลากสไตล์
  มหัศจรรย์ไทยเแลนด์
  เส้นทางความสุข
  ขับรถเที่ยวตลอน
  เที่ยวทั่วไทย 77 จังหวัด
  อุทยานแห่งชาติในไทย
  วันหยุดวันสำคัญไทย-เทศ
  ศิลปะแม่ไม้มวยไทย
  ไก่ชนไทย
  พระเครื่องเมืองไทย
 
 
ข้อมูลท่องเที่ยวประเทศเกาหลี
ข้อมูลท่องเที่ยวประเทศลาว
ข้อมูลท่องเที่ยวประเทศกัมพูชา
ข้อมูลท่องเที่ยวประเทศเวียดนาม
ข้อมูลท่องเที่ยวประเทศพม่า
ข้อมูลท่องเที่ยวประเทศจีน
 
เที่ยวภาคเหนือ กำแพงเพชร : เชียงราย : เชียงใหม่ : ตาก : นครสวรรค์ : น่าน : พะเยา : พิจิตร : พิษณุโลก : เพชรบูรณ์ : แพร่ : แม่ฮ่องสอน : ลำปาง : ลำพูน : สุโขทัย : อุตรดิตถ์ : อุทัยธานี
  เที่ยวภาคอีสาน กาฬสินธุ์ : ขอนแก่น : ชัยภูมิ : นครพนม : นครราชสีมา(โคราช): บุรีรัมย์ : มหาสารคาม : มุกดาหาร : ยโสธร : ร้อยเอ็ด : เลย : ศรีสะเกษ : สกลนคร : สุรินทร์ : หนองคาย : หนองบัวลำภู : อำนาจเจริญ : อุดรธานี : อุบลราชธานี : บึงกาฬ(จังหวัดที่ 77)
  เที่ยวภาคกลาง กรุงเทพฯ : กาญจนบุรี : ฉะเชิงเทรา : ชัยนาท : นครนายก : นครปฐม : นนทบุรี : ปทุมธานี : ประจวบคีรีขันธ์ : ปราจีนบุรี : พระนครศรีอยุธยา : เพชรบุรี : ราชบุรี : ลพบุรี : สมุทรปราการ : สมุทรสาคร : สมุทรสงคราม : สระแก้ว : สระบุรี : สิงห์บุรี : สุพรรณบุรี : อ่างทอง
  เที่ยวภาคตะวันออก จันทบุรี : ชลบุรี : ตราด : ระยอง

  เที่ยวภาคใต้ กระบี่ : ชุมพร : ตรัง : นครศรีธรรมราช : นราธิวาส : ปัตตานี : พัทลุง : พังงา : ภูเก็ต : ยะลา : ระนอง : สงขลา : สตูล : สุราษฎร์ธานี




  ราชวงศ์กษัตริย์แห่งอาณาจักรสยาม

 

ราชวงศ์กษัตริย์แห่งอาณาจักรสยาม

 

                ชนชาติสยามนั้นมีราชวงศ์กษัตริย์ทางเหนือคือราชวงศ์เชียงแสนหรือราชวงศ์เชียงรายเป็นต้นราชวงศ์มาตั้งแต่  พ.ศ.  1600  มีกษัตริย์ครองเมืองต่อมา  จนเกิดอาณาจักรสยามทางตอนใต้คือกรุงสุโขทัย  กรุงศรีอยุธยา  กรุงรัตนโกสินทร์  ตามลำดับ

 

อาณาจักรสยาม  สมัยเมืองสุโขทัยเป็นราชธานี

(พระนามตัวเอนในวงเล็บเป็นชื่อที่ใช้เรียกมาแต่เดิม)

 

ราชวงศ์พระร่วง

 

1.  พ่อขุนศรีอินทราทิตย์  (ขุนบางกลางหาว  เมืองบางยาง)  ครองราชย์  พ.ศ.  1792  (ไม่ปรากฏปีสิ้นราชการ)-บ้างว่า  พ.ศ.  1781

2.  พ่อขุนบาลเมือง  ประมาณ  พ.ศ.  1800?-1820  (20ปี)บ้างว่าไม่ปรากฏปีครองเมือง-1822

3.  พ่อขุนรามคำแหง  พ.ศ.  1820-1860  (40  ปี)  บ้างว่า  พ.ศ.1822-1841  (20  ปี)

4.  ปู่ไสสงคราม  พ.ศ.1842  (ไม่ปรากฏราชกาล)

5.  พญาเลอไทย  พ.ศ.  1816-1897  (36  ปี)  บ้างว่า  พ.ศ.  2841-ไม่ปรากฏปีสิ้นราชกาล

6.  พญางั่วนำถม  พ.ศ.  1882-1890  (8  ปี)  ไม่ปรากฏปีครองเมือง-พ.ศ.  1890

7.  พระมหาธรรมราชาที่  1  (พญาลิไทย)  พ.ศ  1897-1919  (22  ปี)-บ้างว่า  พ.ศ.  1890-ระหว่าง  พ.ศ  1911-1917

8.  พระมหาธรรมราชาที่  2  (พญาเลอไทย)  พ.ศ.  1921-1942  (20  ปี)  บ้างว่าระหว่าง  พ.ศ.  1911-1917  ถึง  1942

9.  พระมหาธรรมราชาที่  3  (พญาไสเลอไทย)  พ.ศ.  1919-1920  (1  ปี)  บ้างว่า  พ.ศ.  1942-1962  (21  ปี)

10.  พระมหาธรรมราชาที่  4  (พญาปาลราช)  พ.ศ.  1962-1881  (20  ปี) 

 

หมายเหตุ  ศักราชนี้เป็นเพียงข้อมูลเริ่มต้นและยังอาศัยการสันนิษฐานอยู่  ดังนั้นศักราชบางแห่งจึงม่สามารถสรุปให้เป็นข้อมูลที่ถูกต้อง

 

อาณาจักรสยาม  สมัยกรุงศรีอยุธยาเป็นราชธานี  ราชวงศ์เชียงราย

 

1.  สมเด็จพระรามาธิบดีที่  1  (พระเจ้าอู่ทองประสูติ  2ฯ5  ค่ำ  ปีขาล  จ.ศ.  676  ตรงวันที่  24  มีนาคม  พ.ศ.  1856)  ตั้งราชวงค์  พ.ศ.  1893-1921  (19  ปี)

2.  สมเด็จพระราเมศวร  (พระราเมศวร  ครองราชย์ครั้งแรก)  พ.ศ.  1921-1913  (1  ปี)  เวนราชสมบัติถวายพระบิตุลา

3.  สมเด็จพระราเมศวร  (พระราเมศวร  ครองราชย์ครั้งที่สอง)  พ.ศ.  1931-1913  (7  ปี)

4.  สมเด็จพระรามราชาธิราช  (พระรามราชา)  พ.ศ.  1938-1925  (14  ปี)

 

ราชวงศ์สุพรรณภูมิ  

 

1.  สมเด็จพระบรมราชาธิราชที่  1  (ขุนหลวงพระงั่วสถาปนาราชวงศ์)  พ.ศ.  1913-1931  (18  ปี) 

2.  พระเจ้าทองลัน  หรือ  พระเจ้าทองจันทร์  ประสูติ  1917  พ.ศ.  1931  (7  วันถูกชิงอำนาจ)

3.  สมเด็จพระอินทราธิราชที่  1  (เจ้านครินทร์  ประสูติ  1902)  พ.ศ.  1952-1967  (15  ปี)

4.  สมเด็จพระบรมราชาธิราชที่  2  (เจ้าสามพระยา)  พ.ศ.  1967-1991  (24  ปี)

5.  สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ  ประสูติ  พ.ศ.  1975  พ.ศ.  1991-2031  (30  ปี)

6.  สมเด็จพระบรมราชาธิราชที่  3  พ.ศ.  2031-2034  (3  ปี)

  สมเด็จอินทราธิราชที่  2   พ.ศ.  1992-2034  (22  ปี)ในพงศาวดารฉบับพระราชหัตถเลขา  ไม่มีรัชกาลนี้

7.  สมเด็จพระรามาธิราชที่  2  (พระเชษฐาธิราช)  พ.ศ.  2034-2072  (38  ปี)

8.  สมเด็จพระบรมราชาธิราชที่  4  หรือสมเด็จพระบรมราชาหน่อพุทธางกรู  พ.ศ.  2072-2076  (5  ปี)  

9.  สมเด็จพระรัฏฐาธิราช  (พระรัฏฐากุมาร  ประสูติ  พ.ศ.  2072)  พ.ศ.  2076-2077  (5  เดือนถูกชิงอำนาจ)

10.  สมเด็จพระชัยราชาธิราช  (พระชัยราชา)  พ.ศ.  2077-2089  (12  ปี)

11.  สมเด็จพระแก้วฟ้า  (พระยอดฟ้า  ประสูติ  พ.ศ.  2079)  พ.ศ.  2089-2091  (2  ปี  ถูกปลงพระชนม์)

 

                 แทรก  ขุนวรวงศาธิราช  พ.ศ.  2091  (42  วัน  ถูกชิงอำนาจ)  ไม่นับเป็นราชวงศ์

12.  สมเด็จพระมหาจักรพรรดิราชาธิราช  (พระมหาจักรพรรดิ-พระเจ้าช้างเผือก)  ครองราชย์ครั้งแรก  พ.ศ.  2091-2097  (6  ปี)

13.  สมเด็จพระมหินทราธิราช   (พระมหินทรราชา)  ครองราชย์ครั้งแรก  พ.ศ.  2097-2098  (1  ปี)

 

                 แทรก  สมเด็จพระมหาจักรพรรดิราชาธิราชครองราชย์ครั้งที่  2  พ.ศ.  2097-2111  (2098-ตาย)

                แทรก สมเด็จมหินทราธิราช  ครองราชย์ครั้งที่  2  พ.ศ.  2098-2112

                หมายเหตุ  ศักราชตั้งแต่ราชกาลของสมเด็จพระชัยราชาธิราชถึงสมเด็จพระมหาจักรพรรดิยังมีข้อมูลที่ต้องศึกษาและตรวจสอบ  ด้วยเหตุที่ยังไม่มีข้อสรุป  เพราะมีหลักฐานบางฉบับสรุปศักราชรวมไว้ครั้งเดียวดังนี้

                .  สมเด็จพระหมาจักรพรรดิราชาธิราช  พ.ศ.  2091-2111  (20  ปี)

                .  สมเด็จพระมหิรทราธิราช  พ.ศ.  2111-2112  (1  ปี  เสียกรุงศรีอยุธยา)

                สำหรับศักราชตั้งแต่รัชกาลของสมเด็จพระมหาธรรมราชาเป็นต้นไป  คือศักราชที่ปรากฏต่อไปนี้  น่าจะเป็นศักราชที่ถูกต้องกว่าศักราชในพระราชำพงศวดาร  ฉบับพระราชหัตถเลขา

 

แนะนำข้อมลเพิ่มเติม ราชวงศ์กษัตริย์แห่งอาณาจักรสยาม

เชิญแนะนำข้อมูลเพิ่มเติม

ชื่อ / Email
ข้อความ
  

 


 
 
dooasia.com
สงวนลิขสิทธิ์ © 2550 ดูเอเซีย    www.dooasia.com

เว็บท่องเที่ยว จองที่พัก จองตั๋วเครื่องบินออนไลน์ ข้อมูลท่องเที่ยว ไทย ลาว กัมพูชา เวียดนาม แผนที่ การเดินทาง ที่พัก ร้านอาหาร จองที่พักและโรงแรมออนไลน์ผ่านอินเตอร์เน็ตทั่วโลก คลิปวีดีโอ ไทย ลาว เวียดนาม กัมพูชา สถานที่ท่องเที่ยวในประเทศไทย ลาว เวียดนาม ขอขอบคุณข้อมูลจาก การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย การท่องเที่ยวลาว การท่องเที่ยวกัมพูชา การท่องเที่ยวเวียดนาม มรดกไทย กรมป่าไม้
dooasia(at)gmail.com ใช้สัญญาอนุญาตของครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 3.0 ประเทศไทย. สัญญาอนุญาตของครีเอทีฟคอมมอนส์