ท่องเที่ยว || เพิ่มข้อมูลสถานที่ท่องเที่ยว|| ดูดวงตำราไทย|| อ่านบทละคร|| เกมส์คลายเครียด|| วิทยุออนไลน์ || ดูทีวี|| ท็อปเชียงใหม่ || รถตู้เชียงใหม่
  dooasia : ดูเอเซีย   รวมเว็บ   บอร์ด     เรื่องน่ารู้ของสยาม   สิ่งน่าสนใจ  
 
สำหรับนักท่องเที่ยว
ตรวจสอบระยะทาง
แผนที่ 77 จังหวัด
คู่มือ 77 จังหวัด(PDF)
จองโรงแรม
ข้อมูลโรงแรม
เส้นทางท่องเที่ยว(PDF)
ข้อมูลวีซ่า
จองตั๋วเครื่องบิน
จองตั๋วรถทัวร์
ทัวร์ต่างประเทศ
รถเช่า
197 ประเทศทั่วโลก
แลกเปลี่ยนเงินสากล
ซื้อหนังสือท่องเทียว
dooasia.com แนะนำ
  เที่ยวหลากสไตล์
  มหัศจรรย์ไทยเแลนด์
  เส้นทางความสุข
  ขับรถเที่ยวตลอน
  เที่ยวทั่วไทย 77 จังหวัด
  อุทยานแห่งชาติในไทย
  วันหยุดวันสำคัญไทย-เทศ
  ศิลปะแม่ไม้มวยไทย
  ไก่ชนไทย
  พระเครื่องเมืองไทย
 
 
ข้อมูลท่องเที่ยวประเทศเกาหลี
ข้อมูลท่องเที่ยวประเทศลาว
ข้อมูลท่องเที่ยวประเทศกัมพูชา
ข้อมูลท่องเที่ยวประเทศเวียดนาม
ข้อมูลท่องเที่ยวประเทศพม่า
ข้อมูลท่องเที่ยวประเทศจีน
 
เที่ยวภาคเหนือ กำแพงเพชร : เชียงราย : เชียงใหม่ : ตาก : นครสวรรค์ : น่าน : พะเยา : พิจิตร : พิษณุโลก : เพชรบูรณ์ : แพร่ : แม่ฮ่องสอน : ลำปาง : ลำพูน : สุโขทัย : อุตรดิตถ์ : อุทัยธานี
  เที่ยวภาคอีสาน กาฬสินธุ์ : ขอนแก่น : ชัยภูมิ : นครพนม : นครราชสีมา(โคราช): บุรีรัมย์ : มหาสารคาม : มุกดาหาร : ยโสธร : ร้อยเอ็ด : เลย : ศรีสะเกษ : สกลนคร : สุรินทร์ : หนองคาย : หนองบัวลำภู : อำนาจเจริญ : อุดรธานี : อุบลราชธานี : บึงกาฬ(จังหวัดที่ 77)
  เที่ยวภาคกลาง กรุงเทพฯ : กาญจนบุรี : ฉะเชิงเทรา : ชัยนาท : นครนายก : นครปฐม : นนทบุรี : ปทุมธานี : ประจวบคีรีขันธ์ : ปราจีนบุรี : พระนครศรีอยุธยา : เพชรบุรี : ราชบุรี : ลพบุรี : สมุทรปราการ : สมุทรสาคร : สมุทรสงคราม : สระแก้ว : สระบุรี : สิงห์บุรี : สุพรรณบุรี : อ่างทอง
  เที่ยวภาคตะวันออก จันทบุรี : ชลบุรี : ตราด : ระยอง

  เที่ยวภาคใต้ กระบี่ : ชุมพร : ตรัง : นครศรีธรรมราช : นราธิวาส : ปัตตานี : พัทลุง : พังงา : ภูเก็ต : ยะลา : ระนอง : สงขลา : สตูล : สุราษฎร์ธานี

www.dooasia.com > เมืองไทยของเรา > อุทยานประวัติศาสตร์ของไทย

สุโขทัย
ศรีสัชนาลัย
พระนครศรีอยุธยา
พนมรุ้ง
 
กำแพงเพชร
ศรีเทพ
พิมาย
เมืองสิงห์
พระนครคีรี
อุทยานประวัติศาสตร์พนมรุ้ง

| หน้าแรก | หน้าต่อไป |

ปราสาทประธาน
มีทางเข้าสี่ทิศคือ ทางทิศตะวันออก ซึ่งเป็นทางเข้าสำคัญ มีมุขกระสันเชื่อมต่อกับมณฑป ซึ่งตั้งอยู่ด้านหน้า ส่วนที่เหลืออีกสามทิศคือ ทิศตะวันตก ทิศเหนือ และทิศใต้ มีลักษณะเหมือนกันคือ ทำเป็นทางเข้าโดยตรง
ส่วนประกอบที่สำคัญของปราสาทนี้ได้แก่ ฐาน เรือนธาตุ เครื่องบน และเครื่องประดับ

ฐาน
 
ประกอบด้วยฐานบัวและฐานเขียง ฐานนี้มีความสำคัญมาก เนื่องจากเป็นเครื่องแสดงถึงชั้นของลวดบัว และชั้นของลูกแก้วโดยรอบ
ฐานของมุขปราสาทและฐานของตัวปราสาท ประกอบด้วยชั้นสองชั้น มีขนาดแตกต่างกัน โดยมีชั้นประดับลวดลายตกแต่งโดยตลอด ทำเป็นลายนูนเช่น ลายลูกแก้ว ลายลวดบัว ลายบัวหงาย ลายใบไม้สลัก ลายหน้ากระดาน ลายประจำยาม ชั้นบัวคว่ำ สลักเป็นลายใบไม้ม้วนแนวกลับบัว ท้องไม้ ลายใบไม้ม้วน ลายลวดบัวกุมุท ลายกรวยเชิงรูปใบไม้ ตกแต่งด้วยลายรูปหงส์ เหนือลายใบไม้มีแนวลายลูกประคำ
เรือนธาตุ
 
ปราสาทประธาน มีแผนผังเป็นรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัสออกมุม มีมุขปราสาททั้งสี่ด้าน ทำให้แผนผังของปราสาทเป็นรูปกากบาท มุมใหญ่ทั้งสี่ของเรือนธาตุแสดงถึง รูปทรงสี่เหลี่ยมหลัก อันเป็นของดั่งเดิมของสถาปัตยกรรมเขมร ต่อมาได้มีการออกมุมเพิ่มในแต่ละด้าน มุมใหญ่อันเป็นมุมหลักของเรือนธาตุ ตั้งอยู่บนชั้นที่สองของฐานของตัวปราสาท ส่วนมุมย่อยตั้งอยู่บนฐานชั้นแรกของมุขปราสาท
แผนผังด้านในของปราสาทเป็นรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัส เช่นเดียวกับ ด้านนอก 
ภายในปราสาทมีผนังก่อด้วยหินทราย ตั้งตรงในแนวดิ่ง จนถึงชั้นเชิงบาตร จึงเริ่มก่อเป็นหลังคาโค้ง แบบสันเหลื่อมเข้ามาบรรจบกัน 
มุขปราสาทด้านทิศตะวันออกที่เรียกว่ามณฑป สร้างแยกออกจากตัวปราสาท ในแผนผังรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า แต่จะต่อเชื่อมกับปราสาท โดยมีมุขกระสันเป็นตัวเชื่อม ซึ่งเป็นเอกลักษณ์ของปราสาทเขมร
สำหรับมุขปราสาทด้านทิศเหนือ ทิศใต้ และทิศตะวันตก คงมีลักษณะเช่นเดียวกับด้านตะวันออก แต่สร้างติดกับตัวปราสาท

เครื่องบน
 
ประกอบด้วยชั้นเชิงบาตรห้าชั้น ประดับด้วยกลีบขนุนปราสาท รูปสามเหลี่ยมแทนการประดับด้วยรูปจำลองปราสาทที่มุมบน ชั้นเชิงบาตรแต่ละชั้น ทำให้รูปทรงของเครื่องบนลอยเข้าคล้ายรูปพุ่ม ยอดบนสุดของเครื่องบนมี กลศ ปักด้วย ตรีศูล หรือปัญจศูลโลหะ
ชั้นเชิงบาตรชั้นแรก เรียกว่าชั้นครุฑ รองรับกลีบขนุนปราสาท แบ่งออกเป็นสองส่วน ส่วนแรกประดับด้วยลายหน้ากระดาน สลักลายพรรณพฤกษา ขนาบด้วยลายลูกประคำทั้งด้านบนและด้านล่าง 
มีรูปครุฑขนาดเล็กประคองอัญชลีที่แต่ละมุม   ส่วนที่สองสลักเป็นแนวกลีบบัวด้านล่าง ประดับครุฑคล้ายส่วนแรก
 
เหนือชั้นครุฑและชั้นเชิงบาตรแต่ละชั้น ประดับด้วยซุ้มบัญชร ตกแต่งด้วยภาพสลักรูปบุคคลและลายพรรณพฤกษา ด้านหน้าของซุ้มบัญชรมีกลีบขนุน  ปราสาทจำหลักรูปปาทิก ปาลก ที่กึ่งกลางของแต่ละด้าน โดยกลีบขนุนที่มุมเรียงจากถึงกลางสลักเป็นรูปเทพธิดา ฤษี และนาคห้าเศียร ประดับเรียงรายบนชั้นเชิงบาตรทั้งห้าชั้น
ซุ้มบัญชรเหนือชั้นเชิงบาตรแต่ละชั้นมีรูปทรงปีกกา ปลายกรอบของซุ้มสลักเป็นรูปนาคห้าเศียรคาบพวงอุบะ

| หน้าแรก | หน้าต่อไป | บน |

 
 
dooasia.com
สงวนลิขสิทธิ์ © 2550 ดูเอเซีย    www.dooasia.com

เว็บท่องเที่ยว จองที่พัก จองตั๋วเครื่องบินออนไลน์ ข้อมูลท่องเที่ยว ไทย ลาว กัมพูชา เวียดนาม แผนที่ การเดินทาง ที่พัก ร้านอาหาร จองที่พักและโรงแรมออนไลน์ผ่านอินเตอร์เน็ตทั่วโลก คลิปวีดีโอ ไทย ลาว เวียดนาม กัมพูชา สถานที่ท่องเที่ยวในประเทศไทย ลาว เวียดนาม ขอขอบคุณข้อมูลจาก การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย การท่องเที่ยวลาว การท่องเที่ยวกัมพูชา การท่องเที่ยวเวียดนาม มรดกไทย กรมป่าไม้
dooasia(at)gmail.com ใช้สัญญาอนุญาตของครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 3.0 ประเทศไทย. สัญญาอนุญาตของครีเอทีฟคอมมอนส์